Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2492
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูลย์ โล่ห์สุนทร-
dc.contributor.advisorสมรัตน์ เลิศมหาฤทธิ์-
dc.contributor.authorกรุณา คุระวรรณ, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-14T10:32:18Z-
dc.date.available2006-09-14T10:32:18Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745313963-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2492-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพมหานคร เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ศึกษาโดยการเฝ้าระวัง ใช้แบบเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด หลังผ่าตัดอยู่โรงพยาบาลนานเกิน 48 ชั่วโมงขึ้นไป ทุกหอผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2547 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2548 เพื่อหาอัตราอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาอัตราอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด จากการเฝ้าระวังผู้ป่วย 1101 ราย พบอัตราอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด ร้อยละ 5.40 (95% CI : ร้อยละ 4.10 6.70) หอผู้ป่วยที่พบอัตราอุบัติการณ์สูงสุดคือ หออภิบาลผู้ป่วยหนักศัลยกรรม ร้อยละ 20.0 การเกิดการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด พบมากในเพศชาย ร้อยละ 6.80 กลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี พบการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัดมากที่สุด ร้อยละ 7.30 และตำแหน่งที่พบว่ามีการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด มากที่สุดคือ การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นตื้น ร้อยละ 3.30 รองลงมาคือ การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นลึก ร้อยละ 1.80 และการติดเชื้อที่อวัยวะหรือช่องโพรง ร้อยละ 0.30 ตามลำดับ จากการทดสอบทางสถิติ พบว่า เพศ ประวัติการมีโรคประจำตัว ประเภทการผ่าตัด การใส่ท่อระบายหลังผ่าตัด ระยะเวลาในการผ่าตัด การทำแผลหลังผ่าตัด การเตรียมผิวหนังก่อนการผ่าตัด และระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลก่อนการผ่าตัด มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)en
dc.description.abstractalternativeThis research is a study of surgical site infection and related factors at Lerdsin Hospital, Bangkok by a cross sectional study in all patients undergoing certain major operation and admitted in the hospital for more than 48 hours in all patient wards between December 1, 2004 to February 28, 2005 in order to measure the incidence rate and related factors. It was found that the incidence rate of the surgical site infection was 5.40% (95% CI : 4.10 6.70%) of 1101 patients. The intensive cares unite (ICU) and male patients had the highest rate which were 20.00% and 6.80% respectively. Patients with age more than 60 years old had highest rate surgical site infection (7.30%). The frequently infection site were superficial surgical site, deep surgical site, and organ/space surgical site (3.30%, 1.80% and 0.30%) respectively. The gender, personal sickness, scheduled operation, drainage, duration of operation, wound dressing, shaving of skin before operation, and length of stay before operation were associated withthe surgical site infection with p < 0.05 .en
dc.format.extent1177757 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการติดเชื้อen
dc.subjectโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลen
dc.subjectศัลยกรรมen
dc.titleการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ตำแหน่งผ่าตัด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeSurgical site infection and related factors at Lerdsin Hospital Bangkoken
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์ชุมชนen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Karuna.pdf959.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.