Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25031
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรรณราย ทรัพยะประภา | - |
dc.contributor.author | รัตนา นฤภัทร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-21T09:08:17Z | - |
dc.date.available | 2012-11-21T09:08:17Z | - |
dc.date.issued | 2524 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25031 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการสอนทักษะการทวนซ้ำด้วยวิธีสอน 3 แบบ คือการบรรยาย การให้ตัวแบบและบทบาทสมมติแก่นักศึกษาจิตวิทยาการปรึกษากลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่กำลังเรียนวิชา 417-313 การวัดทางจิตวิทยา ภาคต้น ปีการศึกษา 2524 สุ่มตัวอย่างแบบง่ายได้นิสิต 33 คน จากนั้นสุ่มแบบไม่เจาะจงเข้ารับเงื่อนไขการทดลอง 3 เงื่อนไข คือ กลุ่มบรรยาย กลุ่มให้ตัวแบบและกลุ่มบทบาทสมมติ การวิจัยนี้เป็นการทดลองแบบแยกส่วน (Split – Plot Design) ซึ่งมีวิธีสอนทั้ง 3 วิธีและจำนวนครั้งของการสอนเป็นตัวแปรอิสระ และมีการวัดซ้ำใน 1 ตัวแปรคือการสอนซ้ำเป็นครั้งที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ของการเรียนเรื่องทักษะการทวนซ้ำเป็นตัวแปรตามโดยมีสมมติฐานการวิจัยว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนทักษะการทวนซ้ำของกลุ่มที่สอนด้วยการบรรยายการให้ตัวแบบและบทบาทสมมติแตกต่างกัน (2) ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนทักษะการทวนซ้ำของกลุ่มที่สอนด้วยวิธีสอนทั้ง 3 จากการสอนครั้งเดียวและสอน 2 ครั้งแตกต่างกันเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการสอนแบบบรรยาย เทปโทรทัศน์ที่ใช้แสดงตัวแบบบท (script) สำหรับแสดงบทบาทสมมติ และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ของการเรียนทักษะการทวนซ้ำ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ตัวแปรด้วยวิธีวัดซ้ำ 1 ตัวแปร (Two – Factor Analysis of Variance Repeated Measure On One Factor) และการเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธีการที่ (T- Method) ของทูกี (Tukey) ผลการวิจัยสนับสนุนสมมติฐานการวิจัยทั้ง 2 ข้อ ที่ระดับนัยสำคัญ .01 และจากผลการเปรียบเทียบพหุคูณระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ของการเรียนทักษะการทวนซ้ำ ด้วยวิธีสอนทั้ง 3 แบบ ปรากฏว่า วิธีสอนแบบบทบาทสมมติเป็นวิธีสอนที่ให้ผลสัมฤทธิ์สูงที่สุดรองลงมาคือวิธีสอนแบบให้ตัวแบบและบรรยายตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์ของการเรียนทักษะการทวนซ้ำของทั้ง 3 กลุ่มจากการสอน 2 ครั้งสูงกว่าผลสัมฤทธิ์จากการสอนครั้งเดียวอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to compare the effects of teaching restatement skills through three different teaching strategies, i.c. through lecturing modeling and role-playing. The sample included 33 counselor students, selected at random from the 50 third year undergraduate students registered for the course “Psychological Testing” (417-313) during the first semester of 1981, at the Faculty of Education, Chulalongkorn University. These subjects were randomly assigned to 3 groups of 11 students each. Each group was exposed to one of the different teaching strategies: lecturing, modeling and role playing. Data were analyzed according to the split-plot design. Independent variables included the three teaching strategies and the number of times each strategy was used. The dependent variable was achievement scores on a test to measure learning and skills about restatement skills. The following hypotheses were tested: (1) the 3 different strategies of teaching produce different levels of achievement about restatement skills (2) there is a difference in the level of achievement between the subjects who were exposed to a particular strategy only once and those who were exposed to it twice. The instruments used inclued a lecturing lesson plan, a videotape for presenting models, scripts for role-playing and achievement tests. The data were analyzed through the computation of the two-factor analysis of variance repeated measure on one factor and the multiple comparison by the T-method of Tukey. Findings supported both hypotheses at the .01 level of significance. Further analysis showed that role-playing produced the highest level of achievement, followed by modeling and lecturing. Achievement after having been taught twice was higher than after of one time for all teaching strategies at the .01 level. | - |
dc.format.extent | 534525 bytes | - |
dc.format.extent | 2352939 bytes | - |
dc.format.extent | 599420 bytes | - |
dc.format.extent | 640659 bytes | - |
dc.format.extent | 511052 bytes | - |
dc.format.extent | 347051 bytes | - |
dc.format.extent | 1511134 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสอน | - |
dc.title | การเปรียบเทียบผลของการสอนทักษะการทวนซ้ำด้วยวิธีบรรยาย การให้ตัวแบบและบทบาทสมมติแก่นักศึกษาจิตวิทยาการปรึกษา | en |
dc.title.alternative | A comparison of the results of teaching restatement skills through lecturing, modeling and role playing to student counselors | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ratana_Nar_front.pdf | 522 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratana_Nar_ch1.pdf | 2.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratana_Nar_ch2.pdf | 585.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratana_Nar_ch3.pdf | 625.64 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratana_Nar_ch4.pdf | 499.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratana_Nar_ch5.pdf | 338.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratana_Nar_back.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.