Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรัตน์ บัวเลิศ-
dc.contributor.authorเกศวรา สิทธิโชค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-22T06:04:47Z-
dc.date.available2012-11-22T06:04:47Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741766335-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25217-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการศึกษาผลของลักษณะความขรุขระพื้นผิวที่มีผลต่อลักษณะการคงตัวบรรยากาศในกรุงเทพมหานคร จะแบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ส่วน ด้วยกันได้แก่ การทดสอบความไวของแบบจำลอง การทดสอบความถูกต้อง ของแบบจำลองคณิตศาสตร์กับข้อมูลการตรวจวัดจากสถานีตรวจวัด Dunlop ในเขต Birmingham ประเทศอังกฤษ การทดสอบวิธีการคำนวณค่าความขรุขระพื้นผิวจากลักษณะสิ่งกีดขวางกับวิธีอ้างอิงด้วยการตรวจวัด อุตุนิยมวิทยา และการทดสอบสัดส่วนการกระจายตัวและลักษณะการคงตัวของบรรยากาศเมื่อมีค่าความขรุขระ พื้นผิวที่แตกต่างกัน โดยผลที่ได้จากการทดสอบความไวของแบบจำลองพบว่าปัจจัยความเร็วลมและค่าความ ขรุขระพื้นผิวจะมีผลต่อความเร็วเสียดทานทั้ง 2 ปัจจัย และปัจจัยความเร็วลม อุณหภูมิ ความเข้มแสง และความ ขรุขระพื้นผิวทั้ง 4 ปัจจัยจะมีผลต่อค่าของ Monin-Obukhov Length และจากการทดสอบความถูกต้องของ แบบจำลองพบว่าแบบจำลองที่ให้ผลจากการคำนวณใกล้เคียงกับการตรวจวัดมากที่สุดได้แก่แบบจำลอง RAMMET รองลงมาคือ GAMMA-MET และ AERMET ตามลำดับ แต่ RAMMET จะมีข้อจำกัดโดยจะสามารถใช้ได้สำหรับพื้นที่มี่มีค่าความขรุขระพื้นผิวมากที่สุด 1.3 เมตร ดังนั้นสำหรับพื้นที่ที่มีค่าความขรุขระ พื้นผิวเกิน 1.3 เมตรแบบจำลอง GAMMA-MET จะมีความเหมาะสมมากกว่า และในส่วนที่สามการทดสอบ วิธีการคำนวณค่าความขรุขระพื้นผิวจากลักษณะสิ่งกีดขวางพบว่าวิธีการคำนวณของ Counihan จะให้ผลที่ใกล้เคียงกับการตรวจวัดอุตุนิยมวิทยามากที่สุดจากการศึกษาบริเวณพื้นที่ศึกษาโรงเรียนหน้าพระลาน จังหวัด สระบุรี และพื้นที่ศึกษาตึกวิทยาศาสตร์ทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดังนั้นหากในบริเวณพื้นที่ที่ไม่มีการตรวจวัดอุตุนิยมวิทยาแบบองค์ประกอบของลม หรืออุตุนิยมวิทยา 2 ระดับแล้ว วิธีการคำนวณของ Counihan จะสามารถนำไปใช้ในการคำนวณค่าความขรุขระพื้นผิวแทน และในส่วนสุดท้ายจากการนำวิธีการคำนวณความ ขรุขระพื้นผิวของ Counihan มาคำนวณความขรุขระพื้นผิวจะได้พื้นที่ที่มีค่าความขรุขระพื้นผิวที่ต่างกัน 4 พื้นที่ ได้แก่ ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนราชดำเนินกลาง โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และถนนสาธรตามลำดับ โดยมี ค่าความขรุขระพื้นผิวเท่ากับ 0.02 0.88 1.21 และ 9.04 เมตร ตามลำดับ ซึ่งผลจากแบบจำลอง GAMMA-MET พบว่าถนนแจ้งวัฒนะและราชดำเนินกลางมีค่าลักษณะอากาศอยู่ในช่วง Unstable ทั้งหมด และพื้นที่ศึกษา โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยและพื้นที่ศึกษาถนนสาธรจะมีช่วงอากาศอยู่ในช่วง Unstable เท่ากับ 75% และ 50% ตามลำดับ และสัดส่วนการกระจายตัวของฝุ่นพบว่าพื้นที่ศึกษาแจ้งวัฒนะมีสัดส่วนการกระจายตัวของฝุ่น มากที่สุดเท่ากับ 0.94 รองลงมาคือ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยและถนนสาธรตามลำดับโดยมีค่าเท่ากับ 0.91 และ 0.86 สำหรับพื้นที่ที่มีการกระจายตัวของฝุ่นน้อยที่สุดได้แก่พื้นที่ถนนราชดำเนินมีค่าเท่ากับ 0.65 เนื่องจากลักษณะของพื้นที่ที่มีการวางตัวของอาคารเป็นแนวติดกันไปตลอด ประกอบกับมีกลุ่มต้นไม้หนาทึบตลอดแนวปกคลุมอยู่บริเวณริมถนนส่งผลให้การกระจายตัวเป็นไปได้น้อย-
dc.description.abstractalternativeThe study of surface roughness effect on atmospheric stability in Bangkok was divided to four parts, the model sensitivity test, The comparison of meteorological preprocessor model (data from Dunlop site in Birmingham U.K.), The test of surface roughness estimation method with the reference method and the correlation between proportion of particulate matter with atmospheric stability at difference surface roughness length. The result of model sensitivity was found that wind speed and surface roughness effected on friction velocity. Wind speed, temperature, radiation and surface roughness effected on Monin-Obukhov length. The comparison of meteorological preprocessor models was found that RAMMET model gave the best performance compared to the meteorological data at Dunlop site, Burmingham UK. and GAMMA-MET and AERMET also gave a good agreement respectively. However, RAMMET has been limited maximum surface roughness at 1.3 m. Therefore, at the area where surface roughness length was lager than 1.3 m. had to use GAMMA-MET instead. In the third part of this study, Surface roughness estimation method have been compared to reference method, based on wind component and wind profile at Napraran school, Saraburi province and Chulalongkom university. It was shown that the Counihan method gave the best agreement to the reference method. Therefore, the area that had not meteorological measurement on wind component and wind profile, the method of Counihan can be used instead. In the last part of this study, The method of Counihan used to calculate the four areas that had different surface roughness length, Changwattana Road, Ratchadumnum Road, Bangkok Christian School and Sathom Road that had surface roughness about 0.02, 0.88, 1.21 and 9.04 m. respectively. The result of Monin-Obukhov length from GAMMA-MET found that the frequency of atmospheric stability at Changwattana Road and Rachadumnum Road were unstable condition. Bangkok Christian School and Sathom Road were unstable condition about 75% and 50% respectively. The proportion of particulate matter concentration in these four areas found that Changwattana Road was the highest (0.94) and Bangkok Christian School, Sathom Road were 0.91 and 0.86 respectively. The area that was the lowest proportion was Rachadumnum Road (0.65) because the buildings were closely and the roadside of this area had many big trees.-
dc.format.extent3982580 bytes-
dc.format.extent1018970 bytes-
dc.format.extent7123124 bytes-
dc.format.extent3017764 bytes-
dc.format.extent17332738 bytes-
dc.format.extent1224234 bytes-
dc.format.extent2982794 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของลักษณะความขรุขระพื้นผิวที่มีต่อลักษณะการคงตัวของบรรยากาศในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeEffect of surface roughness on atmospheric stability in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ketvara_si_front.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open
Ketvara_si_ch1.pdf995.09 kBAdobe PDFView/Open
Ketvara_si_ch2.pdf6.96 MBAdobe PDFView/Open
Ketvara_si_ch3.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open
Ketvara_si_ch4.pdf16.93 MBAdobe PDFView/Open
Ketvara_si_ch5.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Ketvara_si_back.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.