Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25296
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อวัย วุฒิโฆสิตอ | |
dc.contributor.advisor | ปรีชญา สิทธิพันธุ์ | |
dc.contributor.author | สายันต์ สังข์สุข | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T08:01:45Z | |
dc.date.available | 2012-11-22T08:01:45Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.isbn | 9741770324 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25296 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | บริษัทรับสร้างบ้านเป็นองค์กรทางธุรกิจซึ่งรวมเอานักปฏิบัติวิชาชีพหลายๆฝ่ายมาทำงานร่วมกัน เพื่อให้บริการด้านการออกแบบและก่อสร้างบ้านแบบครบวงจร สถาปนิกคือหนึ่งในผู้ปฏิบัติวิชาชีพที่ทำงานเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรธุรกิจประเภทนี้ การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมของสถาปนิกจึงต้องมีการประยุกต์เพื่อให้เหมาะสมกับรูปแบบของธุรกิจ ในขณะเดียวกันสถาปนิกก็ต้องคำนึงถึงจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพด้วย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการรูปแบบการสร้างบ้านในอดีต การให้บริการออกแบบพร้อมก่อสร้างของบริษัทรับสร้างบ้านในปัจจุบัน ศึกษาจรรยาบรรณและหลักการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม เพื่อสรุปหาแนวทางการปฏิบัติวิชาชีพสถาปนิก ให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบการดำเนินธุรกิจของบริษัทรับสร้างบ้านโดยเน้นศึกษาการให้บริการกรณีแบบบ้านชนิดมาตรฐาน การวิจัยนี้ ดำเนินการวิจัยโดยศึกษาหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พัฒนาการรูปแบบการสร้างบ้าน การดำเนินงานของบริษัทรับสร้างบ้าน และหลักการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม เพื่อนำข้อสรุปเบื้องต้นเป็นแบบสัมภาษณ์ นำไปสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงและสถาปนิกที่ทำงานอยู่ในบริษัทรับสร้างบ้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นบริษัทรับสร้างบ้านที่จดทะเบียนเป็นสมาชิกของสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน พ.ศ. 2547 ซึ่งให้บริการออกแบบและก่อสร้างบ้านอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หลังจากนั้นผู้วิจัยจึงนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ และสรุปแนวทางการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมของสถาปนิกที่มีความเหมาะสมกับรูปแบบของธุรกิจรับสร้างบ้าน ผลการวิจัยพบว่า ในการให้บริการกรณีแบบบ้านชนิดมาตรฐานนั้น สถาปนิกสามารถปฏิบัติวิชาชีพได้ 4 บทบาท ได้แก่ 1.สถาปนิกฝ่ายชาย 2.สถาปนิกออกแบบ 3.สถาปนิกควบคุมงานก่อสร้าง และ 4.สถาปนิกฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ โดยความรับผิดชอบของสถาปนิกจะแปรผกผันกับขนาดของบริษัท ทั้งนี้ สถาปนิกที่เพิ่งจบใหม่มักเกิดข้อขัดแย้งระหว่างเอกลักษณ์เฉพาะตัวกับรูปแบบการให้บริการแบบบ้านชนิดมาตรฐาน และข้อจำกัดในความรู้ด้านการตลาดซึ่งสถาปนิกต้องนำมาใช้ในการให้บริการลูกค้าของบริษัทรับสร้างบ้าน ผู้วิจัยเห็นว่าบริษัทรับสร้างบ้านควรให้ความสำคัญกับบทบาทของสถาปนิกมากกว่าที่เป็นอยู่ การกำหนดบทบาทหน้าที่ของสถาปนิกควรมีความชัดเจน ส่วนสถาปนิกก็ต้องรู้จักประยุกต์รูปแบบการทำงานเพื่อให้มีความเหมาะสมกับลักษณะของธุรกิจรับสร้างบ้าน ซึ่งผู้วิจัยได้เสนอแนวทางBuilding Systems Integrationและการประยุกต์เทคนิคปรับปรุงงาน Plan-Do-Check-Act นอกจากนี้ผู้วิจัยเห็นว่าสถาบันการศึกษาสถาปัตยกรรมก็ควรเพิ่มเติมความรู้ด้านการตลาดให้กับสถาปนิก ขณะที่องค์กรทางวิชาชีพก็ควรมีความยืดหยุ่นในกรอบแห่งจรรยาบรรณและเปิดโอกาสในการทำงานมากกว่าที่เป็นอยู่ | |
dc.description.abstractalternative | A home – building company is an organization hiring professional from different fields to provide a one-stop service in designing and building a ahouse. An architect is an essential part of this teamwork. As a result, he has to adapt his professional practice to this business while adhering to his professional ethics. The objective of this research are to study the development of home building in the past; investigate services provided by a home – building company at present; study professional architectural ethics and practices; and determine appropriate professional architectural practices in line with the home - building business, focusing on standard drawing types. An interview from was drawn up based on related theories about home – building development, the operation of a home- building company and professional architectural principles. The subjects were managing executives and architects working for home – building companies accepted as member of the Association of Home Building Business in 2004. In addition, these companies had to design and build houses in Bangkok and its environ. The data were analyzed and appropriated professional architectural practices were determined in line with the home – building business. It was found that to provide home – building services, an architect assumes the role of 1. saleman 2. designer 3. Construction supervisor and 4. Customer relations person. An architect’s responsibilities varied according to a company’s size. A new graduate architect might face conflicts self identify and providing services as they may have limited knowledge about marketing that is necessary to provide quality service to customers. A home – building company should realize the importance of an architect and set a clear job description for them. Meanwhile, an architect has to apply his knowledge to meet a company’s needs by using the Building System Intergration and Plan-Do-Check-Act proposed by the researcher. Furthermore, marketing should be incoporated in the architecture curriculum. The institutions certifying this profession should be flexible about ethics and provide more job opportunites. | |
dc.format.extent | 2683864 bytes | |
dc.format.extent | 2570548 bytes | |
dc.format.extent | 5976150 bytes | |
dc.format.extent | 6221349 bytes | |
dc.format.extent | 6983758 bytes | |
dc.format.extent | 2070332 bytes | |
dc.format.extent | 9333821 bytes | |
dc.format.extent | 8425109 bytes | |
dc.format.extent | 9587224 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.title | การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมของสถาปนิกในบริษัทรับสร้างบ้าน : กรณีศึกษาแบบบ้านชนิดมาตรฐาน | en |
dc.title.alternative | Architectural professional practice in home-builder company : a case study of standard drawing types | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sayan_sa_front.pdf | 2.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch1.pdf | 2.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch2.pdf | 5.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch3.pdf | 6.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch4.pdf | 6.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch5.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch6.pdf | 9.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_ch7.pdf | 8.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sayan_sa_back.pdf | 9.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.