Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทอร บูรณบรรพต-
dc.contributor.authorวิไลพร พรหมศรัทธา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-23T04:08:34Z-
dc.date.available2012-11-23T04:08:34Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25503-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาว่า การให้การเสริมแรงด้วยวาจาแบบการชมเชยและการติเตียนจะมีผลต่อสัมฤทธิผลการทำงานของนักเรียนที่ชอบสมาคมและแยกตัวหรือไม่ อย่างไร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2517 ของโรงเรียนสตรีวิทยา กรุงเทพมหานคร จำนวน 90 คน เป็นนักเรียนที่ชอบสมาคม 45 คน นักเรียนที่ชอบแยกตัว 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างและแบบทดสอบวัดสัมฤทธิผลทางการทำงาน ผู้วิจัยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่มกลุ่มละ 30 คน โดยให้แต่ละกลุ่มมีนักเรียนที่ชอบสมาคมและแยกตัวจำนวนเท่า ๆ กัน ให้แต่ละกลุ่มทำแบบทดสอบวัดสัมฤทธิผลการทำงาน กลุ่มที่หนึ่งจะได้รับการชมเชย กลุ่มที่สองจะได้รับการติเตียนก่อนทำการสอบทุกครั้ง ส่วนกลุ่มที่สามให้ทำงานตามปกติเปรียบเทียบผลความแตกต่างของสัมฤทธิผลการทำงานของแต่ละกลุ่มโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิตการวิเคราะห์ความแปรปรวน และวิธีการนิวแมน คูลส์ ผลการวิจัยพบว่าการชมเชยและการติเตียนมีผลต่อสัมฤทธิผลการทำงานของนักเรียน การชมเชยและการติเตียนทำให้นักเรียนมีสัมฤทธิผลการทำงานดีกว่าการไม่ชมไม่ติ คะแนนสัมฤทธิผลการทำงานของนักเรียนในกลุ่มชมและกลุ่มติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ การชมเชยและการติเตียนมีผลต่อสัมฤทธิผลการทำงานของนักเรียนที่ชอบสมาคมและแยกตัวเหมือนกัน คะแนนสัมฤทธิผลการทำงานของนักเรียนที่ชอบสมาคมและแยกตัวภายในกลุ่มชม กลุ่มติ และกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่คะแนนสัมฤทธิผลการทำงานมีความสัมพันธ์กันกับประเภทของนักเรียน การเสริมแรงด้วยวาจาที่ให้และจำนวนครั้งของการทดสอบ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experiment was to study the effects of verbal reinforcement on task achievement of sociable and isolated students. Ninety girls from Mathayom Suksa I of Satree Vithayah School were selected and equalized into two experimental groups and one controlled group. In each group, there were two types of students; sociable and isolated students. Two kinds of independent variable; praise and blame were assigned to the two experimental groups before they took each sery of performance tests. It was explained to the controlled group only how to do the tests. Analysis of variance and Newman-Keuls comparison procedure were performed on data analysis. The result of the experiment indicated that there were significant differences between task achievement and reinforcing conditions. Praise and blame were equally effective. No significant difference was found between the two types of students under the same reinforcing condition but there were significant interactions among types of students, reinforcing conditions and trials of the tests.-
dc.format.extent438689 bytes-
dc.format.extent1108671 bytes-
dc.format.extent492999 bytes-
dc.format.extent432222 bytes-
dc.format.extent659713 bytes-
dc.format.extent326302 bytes-
dc.format.extent434418 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเสริมแรง (จิตวิทยา)-
dc.titleผลการเสริมแรงด้วยวาจาที่มีต่อสัมฤทธิผลการทำงาน ของนักเรียนที่ชอบสมาคมและแยกตัวen
dc.title.alternativeEffects of verbal reinforcement on task achievement of socialble and isolated studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vilaiporn_Pr_front.pdf428.41 kBAdobe PDFView/Open
Vilaiporn_Pr_ch1.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Vilaiporn_Pr_ch2.pdf481.44 kBAdobe PDFView/Open
Vilaiporn_Pr_ch3.pdf422.09 kBAdobe PDFView/Open
Vilaiporn_Pr_ch4.pdf644.25 kBAdobe PDFView/Open
Vilaiporn_Pr_ch5.pdf318.65 kBAdobe PDFView/Open
Vilaiporn_Pr_back.pdf424.24 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.