Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25789
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุรสิงห์ นิรชร
dc.contributor.authorจันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-24T05:05:03Z
dc.date.available2012-11-24T05:05:03Z
dc.date.issued2528
dc.identifier.isbn9745646644
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25789
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ หก เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมระหว่างกลุ่มที่มีการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนกับกลุ่มที่มีการทำแบบฝึกหัด ผู้วิจัยได้ทดลองสอนนักเรียนจำนวน 70 คน ในภาคการเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2527 โดยแบ่งเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม ๆ ละ 35 คน ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพของภาคการเรียนที่ 1 ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 โดยเมื่อเรียนจบในแต่ละคาบให้นักเรียนกลุ่มที่ ทำแบบฝึกหัดที่มีการตรวจเพื่อแก้ไขสิ่งที่บกพร่องและกลุ่มที่ 2 ทำการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนที่มีการเฉลยและการอภิปรายผลจำนวน 3 ครั้ง ใช้เวลาทดลองสอนกลุ่มละ 13 คาบ ๆ ละ 50 นาที โดยใช้วิธีสอนเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม เมื่อเรียนจบบทเรียนทั้งหมดแล้ว ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่มีค่าความเที่ยงของแบบทดสอบเท่ากับ 0.89 แล้วนำคะแนนผลสัมฤทธิ์ของทั้งสองกลุ่มมาทดสอบภาวะความแปรปรวน โดยใช้ค่าเอฟ (F-test) เมื่อได้ผลไม่แตกต่างกัน จึงทดสอบความแตกต่างของมัชฌิมเลขคณิตของทั้ง 2 กลุ่ม โดยใช้ค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ หก เรื่อง “ทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรม” โดยการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนและการทำแบบฝึกหัดไม่แตกต่างกันที่ระดับความนัยสำคัญ 0.05
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ หก เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมระหว่างกลุ่มที่มีการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนกับกลุ่มที่มีการทำแบบฝึกหัด ผู้วิจัยได้ทดลองสอนนักเรียนจำนวน 70 คน ในภาคการเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2527 โดยแบ่งเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม ๆ ละ 35 คน ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพของภาคการเรียนที่ 1 ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 โดยเมื่อเรียนจบในแต่ละคาบให้นักเรียนกลุ่มที่ ทำแบบฝึกหัดที่มีการตรวจเพื่อแก้ไขสิ่งที่บกพร่องและกลุ่มที่ 2 ทำการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนที่มีการเฉลยและการอภิปรายผลจำนวน 3 ครั้ง ใช้เวลาทดลองสอนกลุ่มละ 13 คาบ ๆ ละ 50 นาที โดยใช้วิธีสอนเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม เมื่อเรียนจบบทเรียนทั้งหมดแล้ว ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่มีค่าความเที่ยงของแบบทดสอบเท่ากับ 0.89 แล้วนำคะแนนผลสัมฤทธิ์ของทั้งสองกลุ่มมาทดสอบภาวะความแปรปรวน โดยใช้ค่าเอฟ (F-test) เมื่อได้ผลไม่แตกต่างกัน จึงทดสอบความแตกต่างของมัชฌิมเลขคณิตของทั้ง 2 กลุ่ม โดยใช้ค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ หก เรื่อง “ทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรม” โดยการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนและการทำแบบฝึกหัดไม่แตกต่างกันที่ระดับความนัยสำคัญ 0.05
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the physical-biological science learning achievement of mathayom suksa six students on “Natural Material and Industry” between the group taking unit test and the group having exercise after lesson. The researcher taught seventy students which were devided into two groups in second semester of 1984 academic year. Each group consisted of thirty five students. The physical-biological science learning achievement of first semester of both groups was not different at the .05 level of significance. At the end of each period, the first group was assigned to do exercise. And the second group was assigned to take quizes at the end of each unit. The total times spent in teaching was thirteen periods, fifty minutes each. After accomplishing the entire lesson, the achievement test with reliability of 0.89 was administered to the students. Then the scores of both groups were analyzed by using F-test for testing the equality of variances and t-test for testing the differences of the two means. The results of this research was that the physical-biological science learning achievement on “Natural Material and Industry” of mathayom suksa six students between the group taking unit test and the group having exercises after lesson was not significant different at the level of 0.05.
dc.format.extent398468 bytes
dc.format.extent364296 bytes
dc.format.extent576854 bytes
dc.format.extent339792 bytes
dc.format.extent261201 bytes
dc.format.extent283480 bytes
dc.format.extent2472805 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ หก ระหว่างกลุ่มที่มีการทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียน กับกลุ่มที่มีการทำแบบฝึกหัดen
dc.title.alternativeA comparison of physical-biological science learning achievement of mathayom suksa six students between the group taking unit test and the group having exercise after lessonen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surading_Ni_front.pdf389.13 kBAdobe PDFView/Open
Surading_Ni_ch1.pdf355.76 kBAdobe PDFView/Open
Surading_Ni_ch2.pdf563.33 kBAdobe PDFView/Open
Surading_Ni_ch3.pdf331.83 kBAdobe PDFView/Open
Surading_Ni_ch4.pdf255.08 kBAdobe PDFView/Open
Surading_Ni_ch5.pdf276.84 kBAdobe PDFView/Open
Surading_Ni_back.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.