Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25856
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพฑูรย์ สินดารัตน์ | |
dc.contributor.author | สมพงษ์ สิงหะพล | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-24T15:35:00Z | |
dc.date.available | 2012-11-24T15:35:00Z | |
dc.date.issued | 2524 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25856 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบแนวคิดทางด้านปรัชญาการศึกษาของนักศึกษาวิทยาลัยครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชั้นปีสุดท้าย ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ผู้วิจัยได้ตั้งสมมติฐานในการวิจัยว่า แนวคิดทางด้านปรัชญาการศึกษาของนักศึกษาวิทยาลัยครูในกลุ่มตัวอย่างประชากรโน้มไปทางลัทธิพิพัฒนาการนิยม และมีแนวคิดของแต่ละปรัชญาการศึกษา คือ สารัตถนิยม นิรันตรนิยม พิพัฒนาการนิยม ปฏิรูปนิยม และอัตถิภาวนิยมไม่แตกต่างกันระหว่างนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง และระดับปริญญาตรี เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสำรวจปรัชญาการศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบปฏิรูปนิยม และอัตถิภาวนิยม แบบสำรวจปรัชญาการศึกษานี้ถามแนวคิดของปรัชญาการศึกษาทั้ง 5 ลัทธิใน 4 ด้านคือ ความหมายของการศึกษาจุดมุ่งหมายของการศึกษาองค์ประกอบของการศึกษา และกระบวนการเรียนการสอนตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยมีจำนวนทั้งสิ้น 619 คน การวิเคราะห์ข้อมูลได้วิเคราะห์โดยการหาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏข้อค้นพบดังนี้ 1. แนวคิดทางด้านปรัชญาการศึกษาของนักศึกษาวิทยาลัยครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชั้นปีสุดท้าย ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง และระดับปริญญาตรี โน้มไปทางลัทธิพิพัฒนาการนิยม เมื่อแยกวิเคราะห์ในด้านความหมายของการศึกษาจุดมุ่งหมายของการศึกษา องค์ประกอบของการศึกษา และกระบวนการเรียนการสอน ปรากฏว่าความหมายของการศึกษา จุดมุ่งหมายของการศึกษา และองค์ประกอบของการศึกษา โน้มไปทางลัทธิพิพัฒนาการนิยม ส่วนกระบวนการเรียนการสอน โน้มไปทางลัทธิปฏิรูปนิยม 2. แนวคิดทางด้านปรัชญาการศึกษาของแต่ละลัทธิคือ สารัตถนิยม นิรันตรนิยม พิพัฒนาการนิยม ปฏิรูปนิยม และอัตถิภาวนิยม ของนักศึกษาวิทยาลัยครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชั้นปีสุดท้าย ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงและระดับปริญญาตรีแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกลัทธิ | |
dc.description.abstractalternative | The major objectives of this research were to study and compare the educational philosophical stances of last year Teachers College students at Higher Certificate in Education level and Bachelor’s Degree level in Northeastern region. It was hypothesized that the educational philosophical stance of the sampled students tended toward the doctrine of Progressivism. It was further hypothesized that there world be no significant difference in educational philosophical stances of each doctrine between the last year students at Higher Certificate in Education level level and Bachelor’s Degree level. The data for this research were collected by “ Educational Philosophical Inventory” constructed by the researcher which classified into five doctrines : Essentialism, Perennialism, Progressivism, Reconstructionism, and Existentialism. This instrument also classified into four categories : The Meaning of Education, The Purpose of Education, The Elements of Education, and The Learning-Teaching Process. A sample of 619 participated in the research. The obtained data were analyzed statistically by frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. Major findings : 1. The educational philosophical stances of last year Teachers College students at Higher Certificate in Education level and Bachelor’s Degree level tended toward the doctrine of Progressivism. When the analysis was made concerning on the four categories of each doctrine, the results were that “ The Meaning of Education,” “The Purpose of Education,” and “The Elements of Education” tended toward the doctrine of Progressivism, whereas “The Learning-Teaching Process” tended toward the doctrine of Recostructionism. 2. There was no significant difference in educational philosophical stances of each doctrine between last year Teachers College students at Higher Certificate in Education level and Bachelor’s Degree level at the .01 level. | |
dc.format.extent | 589649 bytes | |
dc.format.extent | 709571 bytes | |
dc.format.extent | 2776764 bytes | |
dc.format.extent | 633555 bytes | |
dc.format.extent | 1107298 bytes | |
dc.format.extent | 701428 bytes | |
dc.format.extent | 1290301 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | แนวคิดทางด้านปรัชญาการศึกษาของนักศึกษาวิทยาลัยครู ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | en |
dc.title.alternative | Educational philosophical stances of teachers college students in Northeastern region | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sompong_Sin_front.pdf | 575.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompong_Sin_ch1.pdf | 692.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompong_Sin_ch2.pdf | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompong_Sin_ch3.pdf | 618.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompong_Sin_ch4.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompong_Sin_ch5.pdf | 684.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompong_Sin_back.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.