Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25970
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMark Tathai-
dc.contributor.authorStephen R. Schmidt-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2012-11-26T02:22:24Z-
dc.date.available2012-11-26T02:22:24Z-
dc.date.issued1979-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25970-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University,1979en
dc.description.abstractThis thesis is an attempt to describe and analyze the philosophy of Willard Van Orman Quine with regard to two notions which have become the center a continuing controversy in contemporary American philosophy. It is my thesis that these notion, analyticity and translation, are closely related within Quine’s philosophy. It is also my thesis that although these notions are relatively unimportant in themselves, they are important in relationship to the implications which may be derived from either accepting or rejecting them, especially as regards the theory of meaning. Quine’s philosophy is noted for its rejection of traditional or intuitive or uncritical notions of analyticity and translation. In my thesis, I will analyze Quine’s arguments against the analytic-synthetic distinction and some of the discussion which that denial provoked. It is part of my thesis that Quine’s denial is consistent with the positivistic, behavioristic, and pragmatic starting points of Professor Quine. Quine’s philosophy is also noted for its indeterminacy of translation thesis which amounts to a rejection of the traditional notion of determinate translation. In my thesis I will analyze Quine’s arguments for the indeterminacy of radical translation. It is part of my thesis that this notion of the indeterminacy of radical translation is consistent with Quine’s epistemology and central to his theory of meaning. It is my thesis that Quine’s denial of the analytic synthetic distinction and his indeterminacy of radical translation thesis are most significant because of the role they play in allowing Quine to reject a science of the mental. This means that “meanings” as entities and propositional attitudes are no longer viable alternatives in any positivistic theory of meaning and/or truth. It also means that a satisfactory philosophy of linguistics can be based upon the observation of human response to sentential stimulation. It is my thesis that an analysis of the Quinian arguments leads to a new a fresh metaphilosophy. That is to say, the Quinian approach to philosophy and Quine’s philosophy itself allow us to reach new insights and outlooks concerning the very activity of philosophy, which make the philosophical activity a more “meaningful” and acceptable alternative. I feel that a clear understanding of the philosophy of Quine, expecially as it concerns itself with the two notions under consideration in my thesis, will lead to a more realistic perspective as regards the relationship between language and the world (the “object” and the “word”) as well as to a more profitable attitude as regards the relationship between philosophy and the other disciplines.-
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้พยายามที่จะอธิบายและวิเคราะห์ปรัชญาของวิลลอร์ดเวน ออร์มัน ไควน ในเรื่องสองเรื่อง ซึ่งได้กลายเป็นจุดสำคัญในการถกเถียงที่ยังคงดำเนินอยู่ในวงการปรัชญาของอเมริกาสมัยปัจจุบันนี้ ข้าพเจ้าต้องการที่จะเสนอว่า เรื่องทั้งสองเรื่อง กล่าวคือ วิครหะภาวะและการแปลนั้นได้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในปรัชญาของไควน นอกจากนี้ข้าพเจ้ายังเสนอด้วยว่า ถึงแม้เรื่องทั้งสองเรื่องนี้จะไม่ค่อยมีความสำคัญในตัวมันเองมากนัก แต่ก็จะมีความสำคัญในข้อสรุปที่อาจจะเป็นผลติดตามมาจากการยอมรับหรือการปฏิเสธเรื่องทั้งสองนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับทฤษฎีความหมาย ปรัชญาของไควนเป็นที่รู้จักกันในแง่ของการปฏิเสธความคิดเรื่องวิครหะภาวะและการแปลตามความคิดดั้งเดิมที่ได้ยึดถือกันมา และตามความคิดเห็นที่ยอมรับกันมาจนเป็นปกติวิสัยโดยปราศจากการตรวจสอบใด ๆ ทั้งสิ้น ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์การอ้างเหตุผลของไควนในการที่ได้ปฏิเสธ ความแตกต่างระหว่างวิครหะภาวะและสังเคราะห์ภาวะ มากไปกว่านั้นข้าพเจ้ายังได้วิเคราะห์ข้อโต้แย้งบางประการอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความคิดดังกล่าวของไควน ข้าพเจ้าได้เสนอความคิดในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ว่า ความคิดของไควนในเรื่องเหล่านี้สอดคล้องกันกับลักษณะปฏิฐานนิยม พฤติกรรมนิยมและปฏิบัตินิยมอันเป็นจุดเริ่มต้นขอปรัชญาของท่าน สิ่งที่รู้จักกันโดยแพร่หลายอีกประการหนึ่งในปรัชญาของไควน คือ ทฤษฎีเรื่องการไม่กำหนดแน่นอนในการแปลอันเป็นการปฏิเสธความคิดดั้งเดิมที่ยอมรับกันว่าการแปลนั้นถูกกำหนดแน่นอนตายตัว ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์การอ้างเหตุผลของไควนในเรื่องทฤษฎีการไม่กำหนดแน่นอน ในการแปลที่ปราศจากพื้นฐานภูมิหลังมาก่อน และข้าพเจ้าได้เสนอว่า ความคิดเรื่องการไม่กำหนดแน่นอนในการแปลที่ปราศจากพื้นฐานภูมิหลังเช่นนี้สอดคล้องตรงกันกับทฤษฎีญาณวิทยาของไควน และยังเป็นหัวใจของทฤษฎีความหมายของท่านด้วย วิทยานิพนธ์ของข้าพเจ้าได้เสนอว่า ความคิดของไควนในการปฏิเสธความแตกต่างระหว่าง วิครหะภาวะและสังเคราะห์ภาวะ และความคิดของท่านในเรื่องการไม่กำหนดแน่นอนในการแปลที่ปราศจากพื้นฐานนั้น มีความสำคัญมากที่สุด เพราะบทบาทของเรื่องทั้งสองนี้ทำให้ไควนสามารถที่จะปฏิเสธความรู้ต่าง ๆ ที่ไม่ได้รับมาจากประสบการณ์หรือการสังเกต ซึ่งก็หมายความต่อไปว่า “ความหมายต่าง ๆ “ในฐานะที่เป็น “อัตภาวะ” หรือความสัมพันธ์ต่อข้อความนั้นๆ ไม่ได้เป็นทางออกที่มีความสำคัญต่อทฤษฎีความหมายหรือความจริงของพวกปฏิฐานนิยมอีกต่อไป นอกจากนี้ยังกินความต่อไปอีกด้วยว่า ปรัชญาภาษาศาสตร์ที่ใช้ได้ดีนั้น ควรจะมีพื้นฐานอยู่ที่การสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งเร้าในรูปของประโยค ข้าพเจ้าเสนอว่าการวิเคราะห์การอ้างเหตุผลต่าง ๆ ของไควนจะนำไปสู่ความคิดใหม่ ๆ ที่สดใสของปรัชญาที่ตอบปัญหาว่าปรัชญาคืออะไร ข้าพเจ้าหมายความว่าการเข้าถึงปรัชญาตามวิธีการของไควนและตัวปรัชญาของไควนนั้นเองทำให้เราเกิดมีความเข้าใจและมีทัศนะใหม่ๆ เกี่ยวกับกิจกรรมของปรัชญา อันจะทำให้กิจกรรมทางปรัชญาเป็นทางออก ที่มีความหมาย น่ายอมรับมากยิ่งขึ้น ข้าพเจ้าเห็นว่าความเข้าใจในปรัชญาของไควนอย่างถูกต้องชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องทั้งสองที่วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ยกขึ้นมาพิจารณานั้นจะนำไปสู่แง่ความคิดที่เป็นจริงมากขึ้นในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับโลก (“วัตถุ” กับ “คำ” ) นอกจากนี้ยังจะนำไปสู่แนวความคิดที่เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้นในเรื่องความสัมพันธ์ของปรัชญากับวิชาอื่น ๆ อีกด้วย-
dc.format.extent740535 bytes-
dc.format.extent3559779 bytes-
dc.format.extent1664086 bytes-
dc.format.extent356828 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.titleAnalyticity and Translationen
dc.title.alternativeวิครหภาวะและการแปล-
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplinePhilosophyes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Stephen_R.s_front.pdf723.18 kBAdobe PDFView/Open
Stephen_R.s_ch1.pdf3.48 MBAdobe PDFView/Open
Stephen_R.s_ch2.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Stephen_R.s_back.pdf348.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.