Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวณัฐ โอศิริ
dc.contributor.authorเกี้ยวมนัส น่วมบุญลือ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-28T03:14:17Z
dc.date.available2012-11-28T03:14:17Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.isbn9745312916
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26514
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractปัจจุบันอุทยานแห่งชาติหาดวนกรยังไม่มีแผนการใช้ที่ดิน (Land-use Plan) หรือแผนการจัดการ (Management Plan) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ ดังนั้นเพื่อเป็นการรักษาสมดุลของระบบนิเวศของพื้นที่และรองรับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตลอดจนการใช้งานต่างๆได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ จึงสมควรมีการศึกษาสภาพปัญหาและศักยภาพของพื้นที่เพื่อเป็นแนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินต่อไปในอนาคต วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดวนกรด้านกายภาพและการท่องเที่ยวโดยศึกษาสภาพพื้นที่ทั้งจากแผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร ร่วมกับข้อมูลเอกสารอื่นๆ การสัมภาษณ์ และการสำรวจพื้นที่ จากนั้นจำแนกข้อมูลเพื่อบันทึกลงในแผนที่ แล้วนำแผนที่แต่ละข้อมูลมาซ้อนทับกันเพื่อพิจารณาปัญหา นำไปสู่การเสนอแนวทางแก้ไขต่อไป จากการศึกษาพบว่าสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตและฟื้นฟูระบบนิเวศมากที่สุดคือคุณสมบัติของดินซึ่งไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้นาน และภัยที่มีแนวโน้มจะคุกคามพื้นที่ได้ในอนาคตคือการขยายตัวของชุมชนใกล้เคียง นอกจากนี้การมุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับการท่องเที่ยวยังสามารถทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศได้เช่นกัน จึงแสนอแนวทางการพัฒนาและฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติหาดวนกรโดยเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศชายฝั่ง และแบ่งเขตการใช้ที่ดินเป็น 4 เขต ได้แก่ 1) เขตกิจกรรมพิเศษ 2) เขตพื้นที่อนุรักษ์ 3) เขตพื้นที่ฟื้นฟูธรรมชาติ 4) เขตพัฒนา และเพื่อให้แผนการพัฒนาและฟื้นฟูเป็นส่วนหนึ่งในการลดและ/หรือขจัดปัญหาที่เกิดขึ้น จึงแบ่งช่วงระยะเวลาสำหรับแผนการใช้ที่ดินเพื่อพัฒนาและฟื้นฟูเป็น 3 ระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อรักษาธรรมชาติให้อยู่ในสภาพสมดุล บรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ลดโอกาสการเกิดความเสียหายในอนาคต
dc.description.abstractalternativeA number of tourism facilities in Had Wanakorn National Park have been significantly increased in the recent years. However, there is neither development plan nor management scheme to preserve the natural conditions and to accommodate ecotourism. The analyses of the existing problems and site potentials of the park help to provide guidelines for rehabilitating the damaged ecological systems and for future developments of the park. To identify problems and propose viable solutions, the thesis relies on materials such as aerial photos and information comprising of informal interviews and surveys. In addition, the study focuses on the physical environments, the coastal ecosystems and the current state of tourism in the area. The thesis shows that the poor quality of soil, the expanding urban development, and the growing tourist industry become major threats to the park's ecological system. The thesis proposes that the main emphasis of the rehabilitation plan and the development plan of the national park should be oriented toward ecological preservations. Land-use planning can be organized into four zones: special use zone; strict nature reserved zone; natural recovering zone; and intensive used zone.
dc.format.extent3223063 bytes
dc.format.extent1694837 bytes
dc.format.extent8823424 bytes
dc.format.extent12005795 bytes
dc.format.extent7599117 bytes
dc.format.extent5031858 bytes
dc.format.extent10002512 bytes
dc.format.extent8124650 bytes
dc.format.extent6255619 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleแนวทางการพัฒนาและฟื้นฟูอทยานแห่งชาติหาดวนกร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์en
dc.title.alternativeDevelopment and Rehabilitation guidelines for had wanakorn national park, Prachuap Khiri Khan Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรม
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kiawmanas_nu_front.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch1.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch2.pdf8.62 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch3.pdf11.72 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch4.pdf7.42 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch5.pdf4.91 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch6.pdf9.77 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_ch7.pdf7.93 MBAdobe PDFView/Open
Kiawmanas_nu_back.pdf6.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.