Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26521
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา ตุลยธัญ | - |
dc.contributor.advisor | ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา | - |
dc.contributor.author | ปัฐมนันท์ พงศ์นพรัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T03:27:42Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T03:27:42Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26521 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาปัจจัยด้านสมบัติทางเคมีและกายภาพบางประการของข้าวสารที่มีผลต่อคุณภาพข้าวหุงสุกเร็วที่มีขั้นตอนการผลิตประกอบด้วยการแช่ข้าว การให้ความร้อนโดยการต้มและการทำแห้งข้าว รวมทั้งศึกษาผลของการเสริมไอโอดีนที่มีต่อคุณภาพของข้าวหุงสุกเร็ว โดยใช้ข้าวพันธุ์ก.วก. 1 ซึ่งเป็นข้าวจาปอนิกา เมล็ดสั้น (ความยาวเมล็ด 4.96 มิลลิเมตร ปริมาณอมัยโลสร้อยละ 26.36) การแช่ข้าวในน้ำที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาที (อัตราส่วนข้าวต่อน้ำเป็น 1:8) ทำให้ข้าวพันธุ์ก.วก. 1 และพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงมีความชื้นร้อยละ 28.89 และ 25.51 ตามลำดับ ข้าวทั้งสองพันธุ์ที่ผ่านการแช่เมื่อนำมาให้ความร้อนโดยนำมาต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส (อัตราส่วนข้าวต่อน้ำเป็น 1:6) เป็นเวลา 8 นาที แล้วนำมาทำแห้งด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จนข้าวมีความชื้นต่ำกว่าร้อยละ 14 ข้าวหุงสุกเร็วของพันธุ์ก.วก. 1 และเฉี้ยงพัทลุง มีค่าการเกิดเจลาติไนเซชันเท่ากับร้อยละ 94.96 และ 93.95 ตามลำดับ เมื่อนำข้าวหุงสุกเร็วของพันธุ์ก.วก. 1 และเฉี้ยงพัทลุงไปคืนรูปในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 และ 7 นาที ตามลำดับ พบว่ามีคะแนนการทดสอบทางประสารทสัมผัสการยอมรับรวมสูงที่สุด การเสริมไอโอดีนในข้าวหุงสุกเร็วทำในขั้นตอนการแช่ข้าวโดยวิธี infusion technique พบว่าข้าวหุงสุกเร็วของพันธุ์ก.วก. 1 และพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงมีปริมาณไอโอดีนอยู่ในช่วง 90.15-92.51 และ 91.35-93.10 ไมโครกรัมต่อข้าวหุงสุกเร็ว 100 กรัม น้ำหนักแห้งตามลำดับ ในขณะที่ข้าวหุงสุกเร็วที่ไม่เสริมไอโอดีนมีปริมาณไอโอดีนอยู่ในช่วง 5.37 and 6.87 ไมโครกรัมต่อข้าวหุงสุกเร็ว 100 กรัม น้ำหนักแห้ง นอกจากนี้ค่าการเกิดเจลาติไนเซชัน สัดส่วนการดูดน้ำกลับ ปริมาตรและความยาวเมล็ดของข้าวหุงสุกเร็วที่เสริมและไม่เสริมไอโอดีนของทั้งพันธุ์ก.วก. 1 และเฉี้ยงพัทลุงไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | - |
dc.description.abstractalternative | The chemical and physical properties of milled white rice and effect of iodine fortification on quick-cooking rice qualifies were investigated. Two rice varieties: short grain, (japonica DOA 1 4.96 mm length and 17.12% amylose content) and long grain (indica, Chiang Pattaloong, CH-P 6.54 mm and 26.36% amylose content) were used. The process for the quick-cooking rice (QCR) consisted of three main steps: soaking, cooking and drying. Moisture content of DOA 1 and CH-P rice soaked in water (1: 8) at 30°C for 15 min were 28.89% and 25.51%, respectively. The soaked rice, then, was cooked in water (1: 6) at 100°C for 8 min and air-dried to a final moisture content below 14%. High degree of gelatinization of the quick-cooking rice was observed for both varieties (94.96% for DOA 1 and 93.95% for CH-P QCR). The rehydrated DOA 1 and CH-P QCR samples prepared by boiling the QCR in water at 100°C for 5 and 7 min, respectively, obtained the highest sensory scores of overall quality. The fortification of iodine in QCR by infusion technique provided 90.15 - 92.51 μg iodinel 100 g rice for DOA 1 and 91.35 -93.10 μg iodinel 100 g rice for CH-P. DOA 1 and CH-P QCR sample without iodine fortification contained 5.37 and 6.87 μg iodinel 100 g rice. In addition, degree of gelatinization, rehydration ratio, bulk volume and length of rice kernel of enriched and non-enriched QCR were not significantly different for both varieties. | - |
dc.format.extent | 4919692 bytes | - |
dc.format.extent | 1045485 bytes | - |
dc.format.extent | 6773109 bytes | - |
dc.format.extent | 3025236 bytes | - |
dc.format.extent | 14953692 bytes | - |
dc.format.extent | 805712 bytes | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | สมบัติทางเคมีและกายภาพของข้าวสารและผลของการเสริมไอโอดีนที่มีต่อคุณภาพข้าวหุงสุกเร็ว | - |
dc.title.alternative | Chemical and physical properties of milled white rice and effect of iodine fortification on quality of quick-cooking rice | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีทางอาหาร | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pattamanan_po_front.pdf | 4.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattamanan_po_ch1.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattamanan_po_ch2.pdf | 6.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattamanan_po_ch3.pdf | 2.95 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattamanan_po_ch4.pdf | 14.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattamanan_po_ch5.pdf | 786.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattamanan_po_back.pdf | 11.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.