Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26911
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติ
dc.contributor.authorณ ชนก แสงนิ่มนวล
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-29T07:00:20Z
dc.date.available2012-11-29T07:00:20Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.isbn9741424728
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26911
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงระดับคุณค่าตราสินค้าองค์กรในมุมมองของกลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรของตราสินค้าต่างๆ โดยทำการพัฒนามาตรวัดคุณค่าตราสินค้าองค์กร ซึ่งประกอบด้วย การวัดความตระหนักรู้ในตราสินค้าองค์กร และการวัดการเชื่อมโยงภาพลักษณ์องค์กร และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าตราสินค้าองค์กร และคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ และใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และเป็นผู้บริโภคและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ขององค์กรจำนวนทั้งสิ้น 416 คน ทั้งนี้ องค์กรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยธุรกิจบริการ 2 ประเภทคือ ธุรกิจที่มุ่งให้บริการกับวัตถุในครอบครองของบุคคล ได้แก่ ธุรกิจผู้ให้บริการน้ำมัน คือ ปตท. และเซลล์ และธุรกิจที่มุ่งให้บริการกับจิตใจของบุคคล ได้แก่ ธุรกิจผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่คือ เอไอเอส และดีแทค ผลการวิจัยพบว่า ในธุรกิจผู้ให้บริการน้ำมัน ปตท. มีระดับคุณค่าตราสินค้าองค์กรสูงกว่าเซลล์ และในธุรกิจผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ เอไอเอสมีระดับคุณค่าตราสินค้าองค์กรสูงกว่าดีแทค โดยคุณค่าตราสินค้าองค์กรของทั้ง 4 ตราสินค้า มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับคุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อศึกษาคุณค่าตราสินค้าองค์กรของธุรกิจบริการแต่ละประเภทในลักษณะภาพรวม พบว่า ธุรกิจผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือธุรกิจที่มุ่งให้บริการกับจิตใจของบุคคลมีระดับคุณค่าตราสินค้าองค์กรสูงกว่าธุรกิจผู้ให้บริการน้ำมันหรือธุรกิจที่มุ่งให้บริการกับวัตถุในครอบครองของบุคคล และเมื่อทำการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคุณค่าตราสินค้าองค์กรในมุมมองของผู้บริโภคกับในมุมมองของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร พบว่า ผู้บริโภคมีการรับรู้เกี่ยวกับคุณค่าตราสินค้าองค์กรในระดับที่สูงกว่าผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรทั้ง 4 ตราสินค้า โดยการทดสอบความน่าเชื่อถือของมาตรวัดคุณค่าตราสินค้าองค์กรที่ถูกพัฒนาขึ้น มีค่าความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับที่ใช้ได้
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to: (1) explore corporate brand equity by developing a new measure which had corporate brand awareness and corporate image associations as the key components, and (2) examine the relationships between corporate brand equity and product brand equity. Questionnaires were used to collect data from 416 consumers and other stakeholders of two service businesses. They were: (1) possession processing service, that is petroleum and chemical business (PTT and Shell), and (2) mental stimulus processing service, that is mobile phone network provider (AIS and DTAC). The findings revealed that, in the petroleum and chemical business, PTT‘s corporate brand equity was higher than Shell‘s one while AIS’s corporate brand equity was higher than DTAC‘s one in the mobile phone network business. In addition, all tour corporate brand equity scores were significantly and positively related with all their product brand equity scores. Comparatively, corporate brand equity of mobile phone network providers (mental stimulus processing service) was significantly greater than that of petroleum and chemical business (possession processing service). When comparing between consumers and stakeholders’ perceptions, it was shown that the consumers had better perceptions on corporate brand equity in all four organizations studied. Lastly, the reliability coefficient of the corporate brand equity measure developed in this study was checked and acceptable.
dc.format.extent4005257 bytes
dc.format.extent3237552 bytes
dc.format.extent48500179 bytes
dc.format.extent5095478 bytes
dc.format.extent19276573 bytes
dc.format.extent18510916 bytes
dc.format.extent6692309 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวัดคุณค่าตราสินค้าองค์กรen
dc.title.alternativeMeasuring of corporate brand equityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nachanok_sa_front.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open
Nachanok_sa_ch1.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open
Nachanok_sa_ch2.pdf47.36 MBAdobe PDFView/Open
Nachanok_sa_ch3.pdf4.98 MBAdobe PDFView/Open
Nachanok_sa_ch4.pdf18.82 MBAdobe PDFView/Open
Nachanok_sa_ch5.pdf18.08 MBAdobe PDFView/Open
Nachanok_sa_back.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.