Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิลุบล คล่องเวสสะ-
dc.contributor.authorสุมาณี อำพันทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T07:18:07Z-
dc.date.available2012-11-29T07:18:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741751249-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26925-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพึงประสงค์ทางกายภาพของถนนคนเดิน, ประเภทของกิจกรรมและลักษณะพฤติกรรมเฉพาะของกิจกรรมในถนนคนเดิน เพื่อนำไปสู่แนวทางการ พัฒนาถนนคนเดิน กรณีศึกษาถนนท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 : เป็นการสำรวจความคิดเห็นของผู้มาใช้ถนนในลักษณะของแบบสอบถาม ส่วนที 2 : เป็นการค้นคว้าหลักการและทฤษฎีสากลต่างๆ ตั้งแต่ช่วง ค.ศ.1965 -ค.ศ.2003 ส่วนที่ 3 : เป็นการรวมผลการศึกษา 2 ส่วนแรกเข้าด้วยกัน เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของผู้ใช้ถนนให้ความสำคัญกับเรื่องกิจกรรม และการใช้พื้นที่ มากกว่าเรื่องความงามและการรับรู้ โดยความสำคัญลำดับแรกเป็นเรื่องของกิจกรรมภายในถนนที่ตรง กับความต้องการของผู้ใช้ ลำดับที่สองเป็นเรื่องของสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ได้แก่ ความปลอดภัย และความสบายในการใช้งาน ลำดับที่สามเป็นเรื่องของคุณภาพความงามทางสายตานอกจากนี้ยังพบว่าการบริหารจัดการเป็นส่วนสำคัญของการปิดถนนคนเดิน เนื่องจากปัญหาต่างๆ ที่พบไม่เพียงเกิดจาก รูปแบบกิจกรรมและการออกแบบ แต่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการอยู่มาก การบริหารจัดการในที่นี้ได้ แก่ การรักษาความสะอาด, การจัดระเบียบการใช้พื้นที่, การรักษาความปลอดภัย, การเข้าถึงพื้นที่, การจัดการเส้นทางจราจร ข้อเสนอแนะสำหรับถนนท่าแพเมื่อศึกษาจากความคิดเห็นผนวกกับหลักการและทฤษฎีสากล แล้ว พบว่าหากจะปิดถนนท่าแพเป็นถนนคนเดินในระยะยาว ควรจะพิจารณาประเด็นเพิ่มใน 3 ส่วน คือ 1.ส่วนป้องกัน ได้แก่ การสนับสนุนให้เกิดความปลอดภัยในการใช้พื้นที่ 2. ส่วนที่เอื้อต่อการเกิด พฤติกรรมหลากหลายทั้ง การเดิน, การยืนและพักผ่อน, การนั่ง, การมองและการสังสรรค์ 3. ส่วนของการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับความเพลิดเพลิน ได้แก่ การเพิ่มพื้นที่เปิดโล่ง, การจัดพื้นที่ให้มี ร่มเงา และ ความงามทางสายตา-
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed at investigating desirable physical environment for walking street, type of activities and special characteristic of walking street to be guideline for the improvement of walking street, Tha Phae, Chinag Mai province. This study was divided into 3 parts covering Part 1: the opinion of the person who use walking street, Part 2 : different principle and theory on walking streets from 1965 - 2003, and Part 3: critical consideration of Part 1 and Part 2 to make conclusions and suggestion. The results of the study indicated the opinion of people who used walking street about the importance of activities and the use of walking street more than its beauty and aesthetic perception. They put The most importance on activities in the street that satisfied their need, followed by the appropriate environment such as security and comfort, followed by visual and aesthetics quality. Besides, it was found that the management was important for walking street because the problem occurred not only caused by the activities pattern and its design but also caused by the management. The management included keeping clean, area arrangement, security, area assessment and traffic route. The suggestion for Tha Phae road obtained from the opinion, principle and theory revealed that if we would like to close Tha Phae road for long term, it should be considered 3 issues including 1. preventing part, for example supporting for the security 2. facilitating part for different behaviors, such as walking, standing, relaxing, sitting, sightseeing and entertaining 3. environmental adjustment part which is suitable for the enjoyment, such as increasing the open area, shading area and scene for visual enjoyment-
dc.format.extent4533876 bytes-
dc.format.extent2822979 bytes-
dc.format.extent15000640 bytes-
dc.format.extent45090859 bytes-
dc.format.extent16505058 bytes-
dc.format.extent13049145 bytes-
dc.format.extent4179678 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาลักษณะทางกายภาพที่พึงประสงค์ของถนนคนเดิน : กรณีศึกษาถนนท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่en
dc.title.alternativeA study of desirable physical environment for walking streets : a case study of Tha Phae Road, Chiang Mai Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumanee_am_front.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open
Sumanee_am_ch1.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open
Sumanee_am_ch2.pdf14.65 MBAdobe PDFView/Open
Sumanee_am_ch3.pdf44.03 MBAdobe PDFView/Open
Sumanee_am_ch4.pdf16.12 MBAdobe PDFView/Open
Sumanee_am_ch5.pdf12.74 MBAdobe PDFView/Open
Sumanee_am_back.pdf4.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.