Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลวรรณ พิมพ์พันธุ์-
dc.contributor.advisorประณัฐ โพธิยะราช-
dc.contributor.authorสุวัฒน์ชัย การเนตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T09:11:16Z-
dc.date.available2012-11-29T09:11:16Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741748043-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26979-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการนำเจลาทินมาดัดแปรด้วยกรดสเตียริกปริมาณต่างๆ กันในตัวกลางที่เป็นน้ำ ณ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส โดยใช้เวลาในการทำปฏิกิริยา และภาวะความเป็นกรดด่างที่ แตกต่างกัน เมื่อนำสารละลายเจลาทินดัดแปรมาขึ้นรูปด้วยการหล่อแบบจะได้ฟิล์มสีเหลืองอ่อน จากการศึกษาพบว่า ฟิล์มเจลาทินดัดแปรทุกสูตรมีเปอร์เซ็นต์การดูดซึมความชื้นต่ำกว่า มีระยะเวลาใน การแห้งตัวนานกว่า มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมมากกว่า และมีความสามารถในการย่อยสลาย ทางชีวภาพมากกว่าฟิล์มที่เตรียมจากเจลาทินซึ่งไม่ได้ผ่านการดัดแปรในขณะที่ความทนทานต่อไขมัน และน้ำมัน และความทนทานต่อสารเคมีของฟิล์มทั้งสองกลุ่มมีค่าใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม ฟิล์มเจลาทินดัดแปรมีสมบัติด้านแรงดึงที่ด้อยกว่าฟิล์มเจลาทินที่ไม่ได้ดัดแปร เมื่อพิจารณาสมบัติ ต่างๆ และลักษณะที่ปรากฏของฟิล์มโดยรวมแล้ว ผลการทดลองบ่งชี้ว่า ฟิล์มที่เตรียมจากเจลาทิน ซึ่งดัดแปรด้วยกรดสเตียริก 15 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ระยะเวลาในการดัดแปร 8 ชั่วโมง ณ ความเป็นกรดด่างเท่ากับ 5.5 จะมีศักยภาพมากที่สุดในการนำไปประยุกต์ด้านบรรจุกัณฑ์-
dc.description.abstractalternativeGelatin was modified by various amounts of stearic acid in aqueous media at 60°c using different reaction times and pHs. By casting modified gelatin solutions, the slightly yellow films were formed. It was found that all modified gelatin films had lower % moisture absorption, longer drying time higher environmental resistance and higher biodegradability than the films prepared from unmodified gelatin. On the other hand, oil resistance and chemical resistance of both modified and unmodified gelatin films were comparable. However, the tensile properties of modified gelatin films were lower than those of unmodified gelatin films. When considering the properties and the appearance of the films, the results suggest that the film prepared from 15% stearic acid-modified gelatin using the reaction time of 8 hours and pH of 5.5 has highest potential for packaging application.-
dc.format.extent3842136 bytes-
dc.format.extent1133469 bytes-
dc.format.extent8533822 bytes-
dc.format.extent3450345 bytes-
dc.format.extent8305624 bytes-
dc.format.extent860347 bytes-
dc.format.extent8204622 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleสมบัติทางกายภาพของฟิล์มเจลาทินดัดแปรด้วยกรดสเตียริกen
dc.title.alternativePhysical properties of stearic acid-modified gelatin filmen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwatchai_ka_front.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open
Suwatchai_ka_ch1.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Suwatchai_ka_ch2.pdf8.33 MBAdobe PDFView/Open
Suwatchai_ka_ch3.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open
Suwatchai_ka_ch4.pdf8.11 MBAdobe PDFView/Open
Suwatchai_ka_ch5.pdf840.18 kBAdobe PDFView/Open
Suwatchai_ka_back.pdf8.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.