Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27023
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประคอง สุทธสาร | |
dc.contributor.author | สุจินต์ ชวนชื่น | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-29T11:21:09Z | |
dc.date.available | 2012-11-29T11:21:09Z | |
dc.date.issued | 2527 | |
dc.identifier.isbn | 9745633763 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27023 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านฉันทลักษณ์ในการเขียนบทร้อนกรองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนแบบอนุมานกับแบบอุปมาน วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเมธังกราวาส อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกสอนด้วยวิธีอนุมาน กลุ่มที่ 2 สอน โดยวิธีอุปมาน โดยใช้แผนการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จำนวน 16 แผน นักเรียนทั้งสองกลุ่มนี้มีระดับพื้นความรู้เท่ากัน คัดเลือกโดยดูจากค่ามัชฌิมเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2526 ที่ใกล้เคียงกัน ผู้วิจัยทำการสอนด้วยตัวเองกลุ่มละ 24 คาบ (คาบละ 20 นาที) หลังจากนั้นได้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองโดยผ่านการตรวจแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิ 6 ท่าน และผ่านการวิเคราะห์ได้ค่าความยาก .21-.80 อำนาจจำแนก .23-.56 และสัมประสิทธิ์ของความเที่ยง.89 แล้วจึงวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าทีที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องฉันทลักษณ์ในการเขียนบทร้อยกรองของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยวิธีอนุมานและวิธีอุปมานแตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนวิธีนุมาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยวิธีอุปมาน ทั้งเมื่อวัดด้วยการทดสอบแบบเลือกตอบและการให้เขียนบทร้อยกรองด้วยตนเอง 2. นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีความสามารถด้านใจความและการเลือกใช้คำในการเขียนบทร้อยกรองไม่แตกต่างกัน ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยนี้ได้จากการทดลองเฉพาะในโรงเรียนวัดเมธังกราวาส จังหวัดแพร่ เท่านั้น ถ้าจะได้มีการนำเอาวิธีการเดียวกันนี้ไปทดลองในโรงเรียนอื่นหรือในสภาพการณ์ที่ไม่เหมือนกัน อาจจะได้ผลที่แตกต่างกันไป | |
dc.description.abstractalternative | Purpose To compare the achievement in mechanics of poetry writing among Prathom Suksa Six students by using deductive and inductive methods of teaching Procedures Subjects of the study were 60 students of Prathom Suksa Six students from Methangkarawas School, Chang Wat Phare, They were taught by different methods of teaching. One group of 30 students was taught by the deductive method while the later group was taught by inductive method. Sixteen lesson plans were designed by the researcher herself which approved by experts. The students’ ability were compared by means and standard deviation. Instruction was conducted by the researcher herself. Each group was taught 24 periods (20 minutes per period).The students in each group were given the achievement test which seen and corrected by six experts. The level of difficulty was between .21-.80 with a discrimination power of .23-.56 and a reliability coefficient of .89. Data were analyzed through t-test at the .05 level of significant Result 1. The achievement in mechanics of poetry writing of the group instructed by the deductive method was different from that the group instructed by the inductive method at the .05 level of significance. This corresponded to the assumption. Teaching by the deductive method is more effective than by the inductive method 2. It was not significantly different between the two groups in versifying at the level of .05 The results of this research were obtained from Methangkarawas School, Changwat Phrae, Only. There would be different results if the experiment was in the different situation. | |
dc.format.extent | 437765 bytes | |
dc.format.extent | 519001 bytes | |
dc.format.extent | 990262 bytes | |
dc.format.extent | 466218 bytes | |
dc.format.extent | 315857 bytes | |
dc.format.extent | 606990 bytes | |
dc.format.extent | 3052623 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านฉันทลักษณ์ในการเขียนบทร้อยกรอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเรียนด้วยวิธีอนุมานกับวิธีอุปมาน | en |
dc.title.alternative | A comparison of prathom suksa six students' achevement in mechanics of poetry writing learned by deductivve and inductive methods | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประถมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sujin_Ch_front.pdf | 427.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sujin_Ch_ch1.pdf | 506.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sujin_Ch_ch2.pdf | 967.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sujin_Ch_ch3.pdf | 455.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sujin_Ch_ch4.pdf | 308.45 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sujin_Ch_ch5.pdf | 592.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sujin_Ch_back.pdf | 2.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.