Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27050
Title: การควบคุมและการวัดแรงบิดของไดนาโมมิเตอร์แบบกระแสหมุนวน
Other Titles: Control and measurement of torque on an eddy current dynamometer
Authors: วิศิษฎ์ วิพัฒน์เกษมสุข
Advisors: สถาพร สุปรีชากร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Subjects: ไดนาโมมิเตอร์
แรงบิด -- การควบคุม
แรงบิด -- การวัด
Dynamometer
Torque -- Control
Torque -- Measurement
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เนื่องจากไดนาโมมิเตอร์แบบกระแสหมุนวนเป็นไดนาโมมิเตอร์แบบซึมซับชนิดหนึ่ง ที่สามารถควบคุมภาระ(โหลด) โดยการเปลี่ยนแปลงแรงเบกที่โรเตอร์ แรงเบรกที่กล่าวถึงนี้เป็นแรงเบรกที่เกิดจากอำนาจแม่เหล็กที่มีผลมาจากแม่เหล็กไฟฟ้า และแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำบนโรเตอร์ การควบคุมแรงเบรกของไดนาโมมิเตอร์ชนิดนี้ ใช้วิธีการควบคุมฟลักซ์แม่แหล็กที่ขดลวด โดยทำการปรับปริมาณกระแสไฟฟ้ากระแสตรงที่จ่ายให้กับขดลวด ซึ่งในวิทยานิพนธ์นี้ผู้วิจัยได้นำวงจรควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟ้าและตัวต้านทานปรับค่าได้ มาใช้ร่วมกันเพื่อควบคุมปริมาณกระแสที่ขดลวด ในส่วนการวัดแรงบิดของไดนาโมมิเตอร์ โดยทั่วไป เป็นการใช้ตาชั่งสปริง หรือ โหลดเซลซึ่งแต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน คือ การใช้ตาชั่งสปริงมีข้อเสียที่ต้องคอยปรับตำแหน่งของแขนสเตเตอร์ให้ตั้งฉากกับแนวแรงอยู่เสมอ ส่วนโหลดเซลมีข้อเสียที่ราคาอุปกรณ์ค่อนข้างสูง ผู้วิจัยจึงได้คิดค้นเครื่องมือสำหรับวัดแรงบิดในรูปแบบใหม่ขึ้น เพื่อที่จะลดข้อเสียเหล่านั้น โดยเครื่องมือที่สร้างขึ้นนี้ได้นำระบบไมโครคอนโทรลเลอร์มาใช้ประมวลผลในรูปแบบดิจิตอล
Other Abstract: Eddy current dynamometer is a kind of absorption dynamometer whose load can be controlled by changing the brake force at the rotor. Such brake force is produced from interaction between electromagnetic field and magnetic field from eddy current. The control of brake force is a control of magnetic flux by varying coil excitation current. The researcher had applied voltage regulator circuit together with variable resistor for such control. Generally, force measurement on a dynamometer are done by spring scale or a load cell ,each with advantage and limitations. The spring scale is disadvantageous for the need to level its torque arm, while the weak point of the load cell is its high cost. The researcher had tried to overcome all these shortcomings by implementing a microcontroller to compile and process all data digitally.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเครื่องกล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27050
ISBN: 9745316164
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wisit_wi_front.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_ch1.pdf769.05 kBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_ch2.pdf655.83 kBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_ch3.pdf9.86 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_ch4.pdf9.66 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_ch5.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_ch6.pdf796.09 kBAdobe PDFView/Open
Wisit_wi_back.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.