Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสุทธิ์ เพียรมนกุล-
dc.contributor.advisorฉัตรแก้ว ตันสกุล-
dc.contributor.authorปุณฑรีย์ เขียวภักดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-12-11T03:12:42Z-
dc.date.available2012-12-11T03:12:42Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27467-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษากระบวนการอัลตราฟิลเตรชัน (Ultrafiltration process) ในการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมัน โดยเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันที่มีลักษณะทางกายภาพแตกต่างกัน คือ น้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันตัดและน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันปาล์ม โดยศึกษาสภาวะการเดินระบบที่เหมาะสมและการนำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของ Hermia และสมการการกรองที่ผิวหน้า (Surface filtration equation) มาประยุกต์ใช้ในการอธิบายลักษณะการอุดตันของเมมเบรน รวมไปถึงการศึกษาผลการทำความสะอาดเมมเบรนด้วยสารเคมี จากการศึกษาพบว่ากระบวนการอัลตราฟิลเตรชันมีประสิทธิภาพในบำบัดสูงกว่าร้อยละ 95 โดยสภาวะที่เหมาะสมต่อการเดินระบบคือ ใช้น้ำเสียที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 1 กรัม/ลิตร ความดันเท่ากับ 2.5 บาร์ และความเร็วตามขวางเท่ากับ 0.24 เมตร/วินาที ทั้งนี้ จากการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการอธิบายลักษณะการอุดตันของเมมเบรนพบว่าเมมเบรนเกิดการอุดตันแบบการเกิดชั้นเค้ก (Cake formation) ซึ่งมีค่าความพรุน (ɛ) และค่าความหนาของชั้นเค้กเท่ากับ 0.32 และ 3.14 ไมโครเมตร ตามลำดับ โดยเมื่อความดันและความเข้มข้นของน้ำเสียเพิ่มขึ้น ทำให้ค่าความต้านทานจำเพาะของเค้ก (α) และค่าความต้านทานของฟาวลิง(R[subscript f]) เพิ่มขึ้น ในขณะที่การเพิ่มความเร็วตามขวางจะทำให้ค่า α และค่า R[subscript f] มีค่าลดลง จากการทำความสะอาดเมมเบรนโดยใช้สารเคมีและวิเคราะห์ประสิทธิภาพการทำความสะอาดด้วยค่าประสิทธิภาพการฟื้นฟูฟลักซ์ (FR) และค่าประสิทธิภาพการกำจัดแรงต้านทานของเมมเบรน(RR) พบว่า เมื่อใช้สาร SDS NaOH และ EDTA ร่วมกันจะสามารถทำความสะอาดเมมเบรนได้สะอาดที่สุด โดยให้ค่า FR และค่า RR เท่ากับ 96% และ 55% ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study Ultrafiltration process for treating the oily-wastewater. Two different physical characteristics (cutting oil and palm oil-emulsion) were investigated. The optimal operating condition was determined, as well as, the fouling mechanisms by applying the Hermia’s model and the surface filtration equation. Furthermore, the effect of various chemical washing was analyzed in order to propose the appropriate method for membrane fouling recovery. The results showed that the UF membrane can effectively treat the oily-wastewater with efficiency of 95%. The optimal operating condition obtained in this study was at concentration of 1 g/l, TMP of 2.5 Bar and cross-flow velocity equal to 0.24 m/s. By applying the mathematic models, the cake formation fouling mechanisms can be proven. Moreover, 0.32 of cake porosity and 3.14 µm thickness cake layer were calculated. The increase of TMP and inlet oil concentration can enhance the specific cake resistance (α) and fouling resistance (R[subscript f]).On the other hand, the increase of cross flow velocity leads to decreasing α and R[subscript f] values. The membrane washing was conducted and compared by means of the flux recovery (FR) and the resistance removal (RR). The highest FR and RR values of 96% and 55%, respectively, were obtained from the combining (SDS, NaOH, and EDTA) chemical cleaning agent.en
dc.format.extent6070261 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1979-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอัลตราฟิลเตรชันen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดน้ำมันen
dc.titleการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันด้วยกระบวนการอัลตราฟิลเตรชันen
dc.title.alternativeTreatment of oily wastewater by ultrafiltration processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1979-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phuntharee_kh.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.