Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีน แบรี่
dc.contributor.advisorวัชรี ทรัพย์มี
dc.contributor.authorอรุณี ชาญด้วยกิจ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-15T15:26:24Z
dc.date.available2012-12-15T15:26:24Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745662682
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27741
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการแนะแนวอาชีพแบบกลุ่มย่อยต่อวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยมีสมมติฐานว่านักเรียนที่ได้รับการแนะแนวอาชีพ ด้วยกระบวนการแนะแนวอาชีพแบบกลุ่มย่อยจะมีคะแนนวุฒิภาวะทางอาชีพสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการแนะแนวอาชีพในชั้นเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบสองชั้น 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 12 คน รวม 24 คน แล้วสุ่มตัวอย่างง่ายขากนักเรียน 2 ห้องเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 12 คน กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมกระบวนการแนะแนวอาชีพแบบกลุ่มย่อยทุกสัปดาห์ๆละ 50 นาที รวม 15 สัปดาห์ โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม ส่วนกลุ่มควบคุมเรียนกิจกรรมแนะแนวอาชีพในชั้นเรียนตามปกติ สัปดาห์ละ 50 นาที รวม 15 สัปดาห์เช่นเดียวกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดวุฒิภาวะทางอาชีพ มาตรวัดทัศนคติของ จอห์น โอ ไครส์ท ซึ่งแปลและเรียบเรียงโดย ดร.พรรณราย ทรัพยะประภา การวิจัยนี้ใช้รูปแบบการทดลองสองกลุ่ม ทดสอบก่อนการทดลองและทดสอบหลังการทดลอง โดยการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยทดสอบความแตกต่างของคะแนนรวมในครั้งทดสอบก่อนการทดลอง (Pretest) และคะแนนรวมในครั้งทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้ค่าที (t-test) ผลการวิจัยปรากฏว่า การเข้าร่วมกระบวนการแนะแนวอาชีพแบบกลุ่มย่อยมีผลต่อการเพิ่มวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนมากกว่าการแนะแนวอาชีพในชั้นเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of small group career guidance on career maturity of Matayom Suksa 3 students. The hypothesis tested was that participants in small group career guidance would obtain higher scores on career maturity than participants in a guidance class. The sample included students who studied in Matayom Suksa 3 at Satri Wat Absorn Sawan School. The subjects were assigned to two groups, each group comprising 12 students for a total of 24 students. The subjects were randomly divided into an experimental group and a control group. The experimental group participated in small group career guidance sessions, 50 minutes per week for a period of 15 weeks. The group leader was the researcher. The control group attended guidance classes of 50 minutes per week for a total of 15 weeks. The instrument used for this research was "The Career Maturity Inventory", constructed by John O‘ Crites and translated by Dr. Panarai Supyeprapar. The randomized pretest- posttest design was used. The data were analysed using the t-test. Results indicated that there was a statistically significant difference at the .01 level between the experimental group and the control group. Small group career guidance participation was effective in increasing career maturity.
dc.format.extent415578 bytes
dc.format.extent1055848 bytes
dc.format.extent548284 bytes
dc.format.extent1220287 bytes
dc.format.extent642078 bytes
dc.format.extent287196 bytes
dc.format.extent1281036 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการแนะแนวอาชีพแบบกลุ่มย่อยต่อวุฒิภาวะทางอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สามen
dc.title.alternativeThe effect of small-group career guidance on career maturity of matayom suksa three studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arunee_Ch_front.pdf405.84 kBAdobe PDFView/Open
Arunee_Ch_ch1.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_Ch_ch2.pdf535.43 kBAdobe PDFView/Open
Arunee_Ch_ch3.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_Ch_ch4.pdf627.03 kBAdobe PDFView/Open
Arunee_Ch_ch5.pdf280.46 kBAdobe PDFView/Open
Arunee_Ch_back..pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.