Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพจน์ เตชวรสินสกุล-
dc.contributor.authorกษิดิศ สินโน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-12-25T04:38:32Z-
dc.date.available2012-12-25T04:38:32Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28111-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างการทำนายความสั่นสะเทือนของพื้นดินจากการใช้วัตถุระเบิด โดยการส่งสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนลงสู่ชั้นธรณีวิทยาใต้พื้นดิน โดยการทำนายค่าความสั่นสะเทือนจากทฤษฎีมีค่าน้อยกว่าค่าความสั่นสะเทือนจากตรวจวัดข้อมูลภาคในสนามประมาณ 1.7 เท่า (Jones & Stokes, 2004) ซึ่งความสั่นสะเทือนพื้นดินอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางวิศวกรรมต่างๆ โดยรอบพื้นที่ ในการตรวจวัดความสั่นสะเทือนจะใช้มาตรวัดความเร็วในแกนดิ่งจำนวน 16 ตัว โดยกำหนดตำแหน่งการวางมาตรวัดตัวแรกให้มีระยะห่างจากหลุมระเบิดประมาณ 10 เมตร และวางตำแหน่งมาตรวัดตัวอื่น ๆ ระยะห่างประมาณ 20 เมตร ตามแนวหลุมระเบิด ทำการติดตั้งเครื่องบันทึกข้อมูล จากการตรวจวัดความสั่นสะเทือนซึ่งมีพื้นที่แตกต่างกันประกอบด้วยพื้นที่ดินปนทราย พื้นที่ทรายปนหินและพื้นที่ดินเหนียว พบว่าค่าการส่งผ่านความสั่นสะเทือนในพื้นที่ดินเหนียวมีค่าสูงและค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนคลื่นสั่นสะเทือนของพื้นที่การตรวจวัดเกิดจากการรวมตัวกันระหว่างคลื่นในตัวกลาง (Body waves) และคลื่นพื้นผิว (Surface wave) ซึ่งความเร็วอนุภาคสูงสุดจะมีค่าการลดทอนคลื่นสั่นสะเทือนแบบเลขชี้กำลังตามระยะทางที่เพิ่มขึ้น เมื่อระยะทางมากกว่า 500 เมตร น้ำหนักวัตถุระเบิดมีค่าไม่เกิน 4 กิโลกรัมทุกลักษณะชั้นดิน ค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดจะมีค่าไม่เกิน 3 มม/วินาที ด้านความถี่การสั่นสะเทือนดินเหนียวสามารถกระจายความถี่สั่นสะเทือนมากกว่าชั้นดินประเภทอื่น โดยพื้นที่ดินปนทรายและพื้นที่หินปนทรายค่าการตรวจวัดมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดมีค่าสูงและมีค่าความถี่ต่ำ พื้นที่ดินเหนียวค่าการตรวจวัดมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดมีค่าสูงและมีค่าความถี่สูง ซึ่งค่าความถี่ต่ำจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางวิศวกรรมมากกว่าค่าความถี่สูงen
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to create of ground vibrated prediction from blasting by transmitted seismic wave into the ground. However, in theory of ground vibration prediction is lower than field measurement data about 1.7 times (Jones & Stokes, 2004). Ground vibration may affect to structure around sites. The experiment can measure ground shaking by using 16 geophones in vertical direction. The 1st geophone should be placed far from blast about 10 meters and 20 meters from nearby geophones before install data logger. The measurement induced sandy clay loam, clay and sand rock shows that the clay material transmitted seismic wave higher than another material and coefficient attenuation combined to body wave and surface wave. When a distance is more than 500 meters, weight of blast is not more than 4 kg in every soil layer and peak particle velocity is less than 3 mm/s. In the frequency, clay can provide the vibrating frequency than other soil. For clayey-sand and sandy-gravel, there are high value of peak particle velocity and low frequency. For clay, there are high value of peak particle velocity and frequency which the area of low frequency value will be effected to the civil structure than high value of frequency.en
dc.format.extent5522362 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1452-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสั่นสะเทือนen
dc.subjectคลื่น (ฟิสิกส์)en
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์การลดทอนคลื่นสั่นสะเทือนของพื้นดินจากการใช้ วัตถุระเบิดen
dc.title.alternativeThe attenuation relation of ground vibration from explosiveen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupot.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1452-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kasidit_si.pdf5.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.