Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐนิภา คุปรัตน์-
dc.contributor.authorเผด็จ อุทุมสกุลรัตน์, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-07T12:54:14Z-
dc.date.available2006-06-07T12:54:14Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741724322-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/286-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยที่ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน 103 คน ครู-อาจารย์ 364 คน แบบสอบถามที่ใช้แบ่งเป็น 3 ประเด็น ได้แก่ 1) การเตรียมการ 2) การดำเนินการ 3) การประเมินผล ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า สิ่งที่โรงเรียนส่วนใหญ่ดำเนินการได้เหมาะสมแล้ว คือ การกำหนดนโยบาย การจัดทำแผนงาน/โครงการ การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาบุคลากร การจัดระบบนิเทศภายในโรงเรียน ส่วนสิ่งที่โรงเรียนควรจัดให้มีหรือปรับปรุงแก้ไข คือ งบประมาณ สื่อวัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยี จำนวนนักเรียน การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานen
dc.description.abstractalternativeTo expiore the current situation and problems in managing of student-centered learning in secondary schools of the Department of General Education region one. The study population and sample consisted of 103 school administrators, and 364 teachers who were answered the questionnaire from all the 103 secondary schools. The questionnaire form used in this study was divided according to the 3 areas of student-centered learning management, namely 1) preparation 2) implementation and 3) evaluation. Frequencies, and percentage were used to analyze the data. The results of the study indicated that schools had properly managed the following: policy formulation, planning, public relations, personnel development, effective internal supervision system in schools. While the areas that needed to be provided or improved included the following: budget, equipments and technology, students number, follow-up, and management evaluation.en
dc.format.extent8295958 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.650-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางen
dc.subjectการศึกษา--การบริหารen
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา--การบริหารen
dc.titleการศึกษาการดำเนินการในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1en
dc.title.alternativeA study of student-centered learning management in secondary school of the Department of General Education region oneen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.650-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Padet.pdf7.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.