Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28803
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ โควาวิสารัช-
dc.contributor.advisorประวิตร อัศวานนท์-
dc.contributor.authorสุมรี อาระยะสมบัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-08T14:26:28Z-
dc.date.available2013-02-08T14:26:28Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28803-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractโรคผมบางทางพันธุกรรม (Androgenetic Alopecia) เป็นปัญหาที่พบได้ในคนทุกเพศ ทุกวัย โรคผมร่วงนี้อาจเกิดจากหลายสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่ที่พบจะมีสาเหตุมาจากกรรมพันธุ์ การรักษาโรคผมร่วงมีหลายวิธี ในขั้นตอนการรักษาจำเป็นที่จะต้องมีการประเมินถึงผลการรักษาและ ความก้าวหน้าของการรักษาเพื่อให้ทราบว่าการรักษาในวิธีนั้นๆ ทำให้อาการของโรคดีขึ้นหรือไม่ เพื่อจะได้วางแผนในการรักษาต่อไป วิธีที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือ Digital Phototrichogram งานวิจัยนี้พัฒนาเครื่องมือที่ใช้วัดเชิงปริมาณของข้อมูลเส้นผม ได้แก่ จำนวนและขนาดของเส้นผม จากภาพถ่ายบริเวณหนังศีรษะของผู้ป่วยโรคผมบางทางพันธุกรรม ทั้งนี้เพื่อลดเวลาและความผิดพลาดที่เกิดจากการประเมินโดยใช้บุคคล ขั้นตอนการทำงานเริ่มจากการการปรับภาพนำเข้าให้เหมาะสมโดยกำจัดสัญญาณรบกวน เลือกค่าขีดแบ่งน้อยสุดเพื่อให้เหมาะสมกับการทำ Thresholding จากนั้นตรวจจับวัตถุภายในภาพและทำการประเมินวัตถุเหล่านั้นว่าเป็นเส้นผมหรือไม่โดยใช้เกณฑ์ต่อไปนี้คือ อัตราส่วนระหว่างความยาวต่อความกว้าง (aspect ratio) และขนาดของพื้นที่ของวัตถุ จากนั้นทำการนับจำนวนวัตถุที่ได้รับการประเมินว่าเป็นเส้นผม จากนั้นวัดขนาดของเส้นผม จากผลการทดลองได้ค่าความแม่นยำเฉลี่ยในการนับจำนวนเส้นผมรวมต่อภาพ คือ 79.45% ความแม่นยำของการวัดขนาด คือ 68.19% เทียบกับการประเมินโดนคนen
dc.description.abstractalternativeAndrogenetic Alopecia (hair loss disease) is a problem that is found in people of all sexs and ages. Causes of hair loss vary ad the most found is from genetic. There are several treatment methods for hair loss. It is necessary to evaluate the results during the treatment process so as to determine whether the symptoms improved and to plan further treatment. One of the evaluation methods that is used in this research is digital phototrichogram. With this method, digital image of the hair area is taken and analysed automatically. This research has developed a tool to measure the number and the sizes of the hairs. This tool measures the hair information from scalp hair image of Androgenetic alopecia patients. The objective of this tool is to reduce the amount of time and the error caused by human. The algorithm starts with reducing noise from the acquired image by digital image processing method. Choose the minimum threshold. Then detect and label objects in the image. To determine whether the object is hair, the aspect ratio and the size of object are used. Then count the number of hairs and measure the size of each hair. Compared to measure process, the accuracy of hair counting is 79.45% and accuracy of measuring size is 68.19%.en
dc.format.extent2177502 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2005-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผม -- โรคen
dc.subjectผม -- การวัดด้วยภาพถ่ายen
dc.titleเครื่องมือประมวลผลภาพดิจิทัลสำหรับวัดข้อมูลของเส้นผมบนหนังศีรษะของผู้ป่วยโรคผมบางทางพันธุกรรมen
dc.title.alternativeA digital image processing tool for quantitative measuring of scalp hair parameters in androgenetic alopecia patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisornongluk.c@chula.ac.th-
dc.email.advisorPravit.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2005-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sumaree_ar.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.