Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์
dc.contributor.authorมรรยาท เจริญสุขโสภณ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-01T03:05:13Z
dc.date.available2013-03-01T03:05:13Z
dc.date.issued2532
dc.identifier.isbn9745761052
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29195
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาวะสุขภาพจิตของประชาชนในเขตอุตสาหกรรม ภาคตะวันออกของประเทศไทย จำแนกตามภูมิหลัง ลักษณะการทำงาน ลักษณะการกระจายตัวของอุตสาหกรรมและประเภทโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ปัจจัยด้านกายภาพ จิตใจและสังคมกับสภาวะสุขภาพจิต และศึกษาตัวทำนายสภาวะสุขภาพจิต ตัวอย่างประชากรในการวิจัยเป็นประชาชนในเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามปัจจัยด้านกายภาพ จิตใจและสังคม ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง และแบบสำรวจความเครียดของประชาชนซึ่งเป็นแบบสำรวจมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนในเขตอุตสาหกรรม โดยภาพรวมมีสภาวะสุขภาพจิตที่ไม่ดี 2. ประชาชนในเขตอุตสาหกรรม ที่มีเพศ รายได้ของบุคคล ระยะเวลาการเข้ามาอยู่อาศัยในเขตอุตสาหกรรม ลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยสภาวะสุขภาพจิตไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อจำแนกตามระดับการศึกษา ลักษณะการกระจายตัวของอุตสาหกรรม และประเภทโรงงานอุตสาหกรรม พบว่า ค่าเฉลี่ยสภาวะสุขภาพจิตของประชาชนแต่ละกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ภูมิหลังในด้านระดับการศึกษา ปัจจัยด้านกายภาพ จิตใจ และสังคมของประชาชนในเขตอุตสาหกรรมมีความสัมพันธ์กับสภาวะสุขภาพจิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, .001, .001 และ .001 ตามลำดับ แต่เพศ รายได้ของบุคคล ระยะเวลาของการเข้ามาอยู่อาศัยในเขตอุตสาหกรรม ไม่มีความสัมพันธ์กับสภาวะสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. ตัวแปรที่มีความสำคัญ ในการร่วมกันทำนายสภาวะสุขภาพจิตของประชาชน ในเขตอุตสาหกรรม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกกลุ่มคือ ปัจจัยด้านจิตใจและกายภาพ ส่วนตัวแปรที่สามารถทำนายสภาวะสุขภาพจิตได้ในประชาชนบางกลุ่มคือ ระดับกรศึกษา รายได้ ระยะเวลาของการเข้ามาอยู่อาศัยในเขตอุตสาหกรรมและเพศ ยกเว้นประชาชนในเขตอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ตัวแปรสำคัญในการร่วมกันทำนายสภาวะสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ ปัจจัยด้านจิตใจและรายได้
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the mental health status of the people residing in industrial are, Eastern Thailand, with different background, working status, industrial area and types of factories, and find the relationships between background, physical, psychological, social factors and the mental health status and to search for the variables that would be able to predict the mental health status, the subjects consisted of the people residing in industrial area selected by multi-stage random sampling. Instruments was a questionnaires developed by the researcher and the standardized HOS. Major findings included the following: 1. The mental health status of people was not well. 2. There was no significant different between mean scores of the mental health status, the people which were different in sex, income, periods of living, working status. However, the different between mean scores of the mental health status with different levels of education, industrial area and types of factories was significant different at the .05 level. 3. There were no significant relationships between sex, income, periods of living and the mental health status. However, positively significant relationships at .05, .001, .001 and .001 level were found between levels of education, physical, psychological, and social factors and the mental health status. 4. Factors significantly predicted the mental health status of the people residing in industrial area for all groups were psychological and physical factors. However, factors significantly predicted the mental health status for some groups were levels of education, income, periods of living and sex, except the people around high technological factories, factors significantly predicted the mental health status were psychological factor and income.
dc.format.extent10753060 bytes
dc.format.extent14705466 bytes
dc.format.extent55203915 bytes
dc.format.extent12345002 bytes
dc.format.extent18526485 bytes
dc.format.extent24737289 bytes
dc.format.extent34533919 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ปัจจัยด้านกายภาพ จิตใจ และสังคม กับสภาวะสุขภาพจิตของประชาชนในเขตอุตสาหกรรม ภาคตะวันออกของประเทศไทยen
dc.title.alternativeRelationships between background,physical, psychological,and social factors and the mental health status of the people residing in industrial area, eastern Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manyart_ch_front.pdf10.5 MBAdobe PDFView/Open
Manyart_ch_ch1.pdf14.36 MBAdobe PDFView/Open
Manyart_ch_ch2.pdf53.91 MBAdobe PDFView/Open
Manyart_ch_ch3.pdf12.06 MBAdobe PDFView/Open
Manyart_ch_ch4.pdf18.09 MBAdobe PDFView/Open
Manyart_ch_ch5.pdf24.16 MBAdobe PDFView/Open
Manyart_ch_back.pdf33.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.