Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์
dc.contributor.authorพัชรี พรหมคช
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-11T03:38:37Z
dc.date.available2013-03-11T03:38:37Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.isbn9746314165
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29602
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์เนื้อหารายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง เพื่อการศึกษาของสถานีวิทยุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งออกอากาศวันที่ 1 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ. 2537 จำนวน 39 รายการ รวม 426 ครั้งรายการที่ออกอากาศ ผลการศึกษาพบว่า 1.รายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา นำเสนอเนื้อหาด้านต่างๆ คิดเป็นร้อยละ80.26 ของเวลาที่เป็นรายการเพื่อการศึกษา มีการใช้เพลงประกอบรายการและเวลาส่วนที่เหลือร้อยละ14.96 และโฆษณา ร้อยละ 4.78 2. การวิเคราะห์เนื้อหารายการ พบว่าเนื้อหาด้านศิลปวัฒนธรรม ปรัชญา สถาปัตยกรรม ดนตรี มากที่สุดร้อยละ 44.81 รองลงมาคือ ด้านการปกครอง ร้อยละ 11.86 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละ 6.43 ด้านพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ร้อยละ 5.44 ด้านการศึกษา ร้อยละ4.25 ด้านสุขภาพ ร้อยละ 3.87 ด้านการสื่อสารมวลชน ร้อยละ 1.64 ด้านเศรษฐศาสตร์ ร้อยละ 1.11 ด้านวิทยาการก้าวหน้าเพื่อพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 0.80 และด้านกฎหมาย ร้อยละ 0.05 นอกจากนี้ยังพบว่ารายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา ใช้เพลงมีเนื้อร้องประกอบ รายการมากที่สด ร้อยละ 90.06 รองลงมาใช้เพลงบรรเลง ร้อยละ 6.60 และใช้ทั้งเพลงบรรเลง และเพลงที่มีเนื้อร้อง ร้อยละ 3.34 สำหรับรายการที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ด้านดนตรี พบว่า มี เพลงคลาสสิก มากที่สุด ร้อยละ 74.52 เพลงแจ๊ซ ร้อยละ 22.60 เพลงไทยเดิม ร้อยละ 2.46 และเพลงเฉพาะกลุ่ม ร้อยละ 0.42 จากการศึกษายังพบอีกว่า ผู้จัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการ ศึกษาส่วนใหญ่ มุ่งนำเสนอเนื้อหาแก่ประชาชนทั่วไปในลักษณะของการเพิ่มพูนความรู้ทั่วไป ความรู้ทางวิชาการ และเสริมสร้างประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งแสดงให้เห็นชัดเจนว่า สถานวิทยุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งจัดรายการวิทยุกระจายเสียงตามลักษณะของการศึกษา เพื่อประชาชน 3. การวิเคราะห์รูปแบบรายการ พบว่า รายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา มีรูปแบบรายการพดคุยกับผู้ฟังโดยตรง มากที่สุดร้อยละ 64.32 รองลงมาคือ การสนทนา ร้อยละ 16.67 รายการที่มีหลายรูปแบบในรายการเดียวกัน ร้อยละ 12.91 การสัมภาษณ์ ร้อยละ 3.52 ละคร ร้อยละ 1.17 สารคดีเชิงข่าว ร้อยละ 0.95 สารคดีเนื่องในโอกาสพิเศษ ร้อยละ 0.23 และ และไม่มีรายการออกอากาศตามกำหนด ร้อยละ 0.23
dc.description.abstractalternativeThis research aimed at studying the content and format of the educational radio programs of Chulalongkom University Broadcastingtation. There were 39 programs broadcasted during October 1st - 31th, 1994, totally 426 programs broadcasting times. The results of this research were as follow:- 1. 80.26% of the broadcasting time of the educational radio programs provided various contents. Having 14.96% for musical bridging and 4.78% for advertising. 2. From the content analysis, this research found that most of the programs had the contents concerning to Art, Culture, Philosophy, Architecture and Musicology in totally 44.81%. The next was 11.86% forolitical Affair. The rest had the contents concerning to Science & Technology 6.43% , Commerce &. Accounting 5.44% , Education 4.25% , Health 3.87%, Mass Communication 1.64% , Economic 1.11% , Farming 0.80% and Law 0.05% . Beside this the study found that the educational radio programs used 90.06% of music time for playing song 6.60% for instrumental music, and 3.34% for both. For the programs provided musical knowledge, found that there were 74.52% for classical music, 22.60% jazz, 2.46% Thai classical music, and 0.42% for special music. Most of programs producers of these educational radio programs intended to present contents to general public in the formal, increasing general knowledge, academic knowledge, and experience for improving the better lives. This character showed that CUFM 101.5 MHz broadcasted the programs for informal education. 3. The format analysis, the research found that the formats used mostly in straight talk 64.32%. The next was discussion 16.67%, variety style in the same program 12.91%, interview 3.52%, drama 1.17%, documentary 0.95%, documentary in special event 0.23%, and no program for schedule 0.23%.
dc.format.extent2950427 bytes
dc.format.extent3863734 bytes
dc.format.extent4688103 bytes
dc.format.extent1814467 bytes
dc.format.extent4412046 bytes
dc.format.extent4401524 bytes
dc.format.extent2559928 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวิเคราะห์รายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา ของสถานีวิทยุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeAn analysis of educational radio programmes of Chulalongkorn University Broadcasting Stationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharee_pr_front.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open
Patcharee_pr_ch1.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open
Patcharee_pr_ch2.pdf4.58 MBAdobe PDFView/Open
Patcharee_pr_ch3.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Patcharee_pr_ch4.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open
Patcharee_pr_ch5.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open
Patcharee_pr_back.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.