Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ
dc.contributor.authorยงยศ พรตปกรณ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-12T07:44:55Z
dc.date.available2013-03-12T07:44:55Z
dc.date.issued2526
dc.identifier.isbn9745622915
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29679
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าการวัดผลผลิตเป็นส่วนสำคัญยิ่งในอุตสาหกรรมต่างๆสำหรับอุตสาหกรรมด้านซอฟท์แวร์ ซึ่งในปัจจุบันมีอัตราการใช้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีราคาแพง ยังไม่มีวิธีการใดที่ดีพอในการวัดผลผลิตและการกำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ในสหรัฐอเมริกาได้มีผู้ทำการศึกษาวิจัยการวัดผลผลิตด้วยตัวแปรต่างๆเช่น จำนวนบรรทัดของโปรแกรม จำนวนหน่วยย่อยของโปรแกรม แรงงาน-เวลาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ระยะเวลาของโครงการและจำนวนเอกสาร ผลปรากฏว่าตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันและสามารถนำมาใช้ในการวัดผลผลิตและใช้ในการคาดคะเนค่าใช้จ่ายและแรงงาน-เวลาในอนาคตได้ สำหรับในประเทศไทย ยังไม่มีการศึกษาวิจัยอย่างเพียงพอเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆดังกล่าวข้างต้น และการนำความสัมพันธ์เหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในการควบคุมการผลิตโปรแกรมภายใต้สิ่งแวดล้อมของการทำโปรแกรมที่แตกต่างจากต่างประเทศ งานวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรในการทำโปรแกรมและการวัดผลผลิตของการทำโปรแกรม โดยศึกษาจากหน่วยงาน 4 แห่ง ซึ่งมีจำนวนโครงการทั้งสิ้น 44 โครงการ ผลปรากฏว่า สหสัมพันธ์ระหว่างจำนวนบรรทัดของโปรแกรมกับตัวแปรอื่นๆแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันจริงในระดับนัยสำคัญน้อยกว่า 0.05 ส่วนจำนวนหน่วยย่อยของโปรแกรมก็มีความสัมพันธ์กับตัวแปรอื่นในลักษณะเดียวกัน แต่มีอยู่หน่วยงานหนึ่งซึ่งจำนวนหน่วยย่อยของโปรแกรมและแรงงาน – เวลาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมมีระดับสำคัญมากกว่า 0.05 ทั้งนี้เนื่องจากในหน่วยงานนั้นมีสหสัมพันธ์ระหว่างจำนวนบรรทัดของโปรแกรมและจำนวนหน่วยของโปรแกรมอยู่ในระดับต่ำ
dc.description.abstractalternativeIt is generally agreed that the measurement of productivity is important for all various industries. For the software industry which demand has been growing at a rapid rate at a high cost, there is still no effective means to measure productivity and to standardize the product. In USA, there had been some research of measurement of programming productivity using some variables of the program such as total lines of code, number of modules, effort, document and project duration; etc. The result showed that all those variables have nearly a linear relationship and can be used to predict effort and cost of the future project. In Thailand, so far there are still very few researches about the relationship among the mentioned variables and its application to control programming productivity under the different environment. This research is aimed at studying the relationship of variables in programming and measurement of programming productivity. Data are obtained from 4- different organizations which have total 44 projects. The result confirms correlation between lines of code and the other variables is good within 5%level of significance. In addition the number of modules has been found to have a similar good correlation with other variables in 3 organizations, except there is one organization that number of modules and total effort has a significant value greater than 0.05 because of the low relationship between number of lines of code and number of modules
dc.format.extent12282064 bytes
dc.format.extent5791857 bytes
dc.format.extent38635339 bytes
dc.format.extent19504998 bytes
dc.format.extent57895581 bytes
dc.format.extent3803849 bytes
dc.format.extent12866355 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวัดผลผลิตของการทำโปรแกรมen
dc.title.alternativeMeasurement of programming productivityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yongyot_pr_front.pdf11.99 MBAdobe PDFView/Open
Yongyot_pr_ch1.pdf5.66 MBAdobe PDFView/Open
Yongyot_pr_ch2.pdf37.73 MBAdobe PDFView/Open
Yongyot_pr_ch3.pdf19.05 MBAdobe PDFView/Open
Yongyot_pr_ch4.pdf56.54 MBAdobe PDFView/Open
Yongyot_pr_ch5.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open
Yongyot_pr_back.pdf12.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.