Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสา วัชรสินธุ
dc.contributor.advisorเชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์
dc.contributor.authorอรอนงค์ ชูชัยวัฒนา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-18T02:48:13Z
dc.date.available2013-03-18T02:48:13Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.isbn9746358626
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29938
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับวิธีป้องกันตนเองจากการถูกล่วงเกินทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 5 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนวิธีป้องกันตนเองจากการถูกล่วงเกินทางเพศ (กลุ่มทดลอง) กับกลุ่มที่ไม่ได้รับการสอน (กลุ่มควบคุม) และเพื่อเปรียบเทียบความรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 5 ก่อนและหลังได้รับการสอนวิธีป้องกันตนเองจากการถูกล่วงเกินทางเพศ โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 68 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการสอน สื่อการสอน และแบบวัดความรู้เกี่ยวกับวิธีป้องกันตนเองจากการถูกล่วงเกินทางเพศ การวิเคราะห์ข้อมูลทำโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนความรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ทั้งก่อนและหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่คะแนนความรู้รายด้าน ภายหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านสิทธิของเด็กที่จะกล่าวปฏิเสธ 2.คะแนนความรู้ของกลุ่มทดลอง ระหว่างชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 5 ทั้งก่อนและหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่คะแนนความรู้รายด้าน ก่อนการทดลอง ของกลุ่มทดลองชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงกว่ากลุ่มทดลองชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในด้านสิทธิของเด็กที่จะกล่าวปฏิเสธ และสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านส่วนของร่างกายที่เป็นส่วนตัว และคะแนนความรู้รายด้าน ก่อนการทดลอง ของกลุ่มทดลองชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่ากลุ่มทดลองชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในด้านกลอุบาย
dc.description.abstractalternativeThis experimental research is aimed at comparing learning of sexual abuse preventive methods between Grade 3 and Grade 5 students of Bangkok metropolitan’s schools, who were instructed about sexual abuse preventive methods and those who were not. It is also aimed at comparing Grade 3 and Grade 5 students’ knowledge prior to and after such instructions. The subjects were randomly divided into four groups, including two experimental groups and two controlled groups. Lesson plans and teaching media concerning sexual abuse prevention, and learning tests were used in the study. The data were analyzed by percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test. The major findings are as follows: 1.The differences of the students’ learning scores between those in experimental groups and in controlled groups, either before or after the instructions, are not statistically significant. Learning scores in specific areas, especially in terms of the children’s rights to say no, between Grade 3 students in experimental groups and those in controlled groups differ at the statistically significant level of .05. 2. Grade 3 and Grad 5 students’ learning scores in experimental groups, both before and after being taught of sexual abuse preventive methods, are not statistically significant. Among students in experimental groups, Grade 5 students score higher than Grade 3 students at the statistically significant level of .01 in comparing knowledge ability concerning the children’s rights to say no, and at the level of .05 in terms of the private rights of the body. In addition learning scores with regard to trickery, of Grade 3 students in experimental groups, prior to the experiment, are found to be higher than Grade 5 students at the statistically significant level of .01.
dc.format.extent4855485 bytes
dc.format.extent2714483 bytes
dc.format.extent16050306 bytes
dc.format.extent2765802 bytes
dc.format.extent4477019 bytes
dc.format.extent6099684 bytes
dc.format.extent22377506 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความสามารถของเด็กวัยเรียนในการเรียนวิธีป้องกันตนเอง จากการถูกล่วงเกินทางเพศen
dc.title.alternativeThe ability of school age childern to learn sexual abuse preventive methoden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตเวชศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Onanong_ch_front.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ch_ch1.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ch_ch2.pdf15.67 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ch_ch3.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ch_ch4.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ch_ch5.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ch_back.pdf21.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.