Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวพันธ์
dc.contributor.authorอรอร ฤทธิ์กลาง
dc.contributor.author
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-18T02:52:52Z
dc.date.available2013-03-18T02:52:52Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.isbn9746314254
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29946
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาตามแนวคิดกลุ่มปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อความสามารถทางการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจา ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2538 โรงเรียนประยุรวงศาวาส สังกัดสำนักงานการประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยการจับคู่คะแนน ภาคความรู้วิชาภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2537 เพื่อทดลองสอนการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาตามแนวคิดกลุ่มปฏิสัมพันธ์ และสอนตามปกติตามแผนการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจา และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจา โดยการทดสอบค่าที (t-test)ที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลของการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนโดยการใช้ทักษะสื่อสารทางวาจาตามแนวคิดกลุ่มปฏิสัมพันธ์มีคะแนนความรู้การใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาไม่สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนตามปกติ 2.นักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนโดยการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาตามแนวคิดกลุ่มปฏิสัมพันธ์มีความสามารถในการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาด้านการเล่าเรื่อง ได้แก่ การใช้สีหน้า ท่าทาง เมื่อเริ่มปรากฏตัว และการใช้ท่าทางและ/หรืออุปกรณ์การพูด ด้านการสนทนา ได้แก่ การพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ ความหมายได้ชัดเจน และการพูดได้เหมาะสมกับกาลเทศะ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 3.นักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนโดยการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาตามแนวคิดกลุ่มปฏิสัมพันธ์ มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาอยู่ในระดับมาก
dc.format.extent3289416 bytes
dc.format.extent7072437 bytes
dc.format.extent17426603 bytes
dc.format.extent6350615 bytes
dc.format.extent5244474 bytes
dc.format.extent6349657 bytes
dc.format.extent100576676 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการใช้ทักษะการสื่อสารทางวาจาตามแนวคิดกลุ่มปฏิสัมพันธ์ ที่มีต่อความสามารถทางการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษากรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeEffects of using oral communication skills according to interaction approach towards speaking ability of Prathom Suksa Four students in elementary school under the Jurisdiction of Office of Bangkok Primary Educationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Oraon_ri_front.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open
Oraon_ri_ch1.pdf6.91 MBAdobe PDFView/Open
Oraon_ri_ch2.pdf17.02 MBAdobe PDFView/Open
Oraon_ri_ch3.pdf6.2 MBAdobe PDFView/Open
Oraon_ri_ch4.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open
Oraon_ri_ch5.pdf6.2 MBAdobe PDFView/Open
Oraon_ri_back.pdf98.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.