Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาศิริ วศวงศ์-
dc.contributor.authorอนุชา อุดมพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-19T08:09:12Z-
dc.date.available2013-03-19T08:09:12Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745761249-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30043-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการแรงงานสัมพันธ์ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 กำหนดกระบวนการให้ฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างที่ประสงค์จะกำหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง ต้องจัดทำข้อเรียกร้องเป็นหนังสือและยื่นต่ออีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อเจรจาต่อรองร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อมิให้คู่กรณีใช้วิธีการอย่างอื่นที่รุนแรง เช่น การปิดงาน หรือนัดหยุดงาน ซึ่งอาจะทำให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจระหว่างคู่กรณีในสถานประกอบการนั้น และอาจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศด้วย ข้อเรียกร้องซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแรงงานสัมพันธ์ตามกฎหมายฉบับดังกล่าว ยังมีปัญหาหลายประการ เช่น การให้สิทธิลูกจ้างที่ยื่นข้อเรียกร้องต้องมีลูกจ้างสนับสนุนหรือเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องจำนวนน้อย ทำให้ไม่เกิดอำนาจในการต่อรองและยังทำให้ลูกจ้างยื่นข้อเรียกร้องได้หลายกลุ่มอีกด้วย หรือในกรณีที่มีการยื่นข้อเรียกร้องในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาดมีผลใช้บังคับ หรือในระหว่างคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยื่นข้อเรียกร้อง เป็นต้น ผลการศึกษาปัญหาดังกล่าวพบว่า กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ของประเทศไทยยังมิได้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการต่างๆ ที่จะให้คู่กรณีได้ปฏิบัติต่อกันอย่างมีระเบียบ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวความคิดต่างๆ ของข้อเรียกร้อง จึงสมควรที่จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ในส่วนที่เกี่ยวกับข้อเรียกร้อง เพื่อให้เกิดความสงบสุขในวงการอุตสาหกรรม อันเป็นผลดีต่อฝ่ายลูกจ้าง นายจ้าง ตลอดจนเศรษฐกิจของประเทศในที่สุด-
dc.description.abstractalternativeAccording to The Labour Relations Act 1975, labour relations regulates procedure for the employer and employee who wishes to set up or improve the working conditions must have a written demand and submit it to the counterpart for collective bargaining. The objective is to prevent the parties concerned not to employ radical means eg. look out or strike which may damage the economic situation of the parties concerned in the enterprise. This may also effect the economic loss of the country. Demand which is the starting point of labour relations as referred in the said Act has many practical problems eg. the right of the employees who submit the demand have small number of supporting employees or employees concerned with the demand causes weak bargaining power. Besides, it offers chances for other groups of employees can submit their demands. In case of submitting demand while the agreement related conditions of employment or decision or award is still effected or while the counterpart submits their demand. The outcomes of this study suggests the justification to amend The Labour Relations Act 1975, particularly the section concerned with Demand so as to create more industrial peace which will be benefit for the enterprises and the economic of the country.-
dc.format.extent1279684 bytes-
dc.format.extent869202 bytes-
dc.format.extent1537434 bytes-
dc.format.extent4638440 bytes-
dc.format.extent5852255 bytes-
dc.format.extent4582881 bytes-
dc.format.extent1936380 bytes-
dc.format.extent1208841 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการยื่นข้อเรียกร้องเพื่อการเจรจาต่อรองร่วมen
dc.title.alternativeThe Demands for Collective Bargainingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anucha_ud_front.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_ch1.pdf848.83 kBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_ch2.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_ch3.pdf4.53 MBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_ch4.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_ch5.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_ch6.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Anucha_ud_back.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.