Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิฏราธร จิรประวัติ, ม.ล.-
dc.contributor.authorสุทธิพงษ์ ธัญญานุรักษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-27T14:10:24Z-
dc.date.available2013-05-27T14:10:24Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31435-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคต่อการวางตราสินค้า และ 2) ศึกษาความต้องการของผู้บริโภคต่อการกำกับดูแลการวางตราสินค้าแต่ละประเภทในสื่อต่างๆ โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือกับกลุ่มผู้บริโภคเพศชายและหญิง อายุ 15-49 ปี ซึ่งอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 420 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติเป็นกลางต่อทั้งการวางตราสินค้าโดยรวม และทัศนคติต่อการวางตราสินค้าในสื่อทั้ง 3 ประเภทได้แก่ สื่อภาพยนตร์, สื่อโทรทัศน์ และสื่อวิดีโอเกมหรือคอมพิวเตอร์เกม และมีทัศนคติในแง่บวกต่อการวางตราสินค้าแบบแนบเนียนมากกว่าการวางตราสินค้าแบบเด่นชัดในทุกๆสื่อ นอกจากนี้ยังพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการการกำกับดูแลการวางตราสินค้าค่อนข้างมาก ส่วนประเด็นเรื่องความสัมพันธ์นั้นพบว่า ทัศนคติโดยรวมต่อการวางตราสินค้ากับทัศนคติและความตั้งใจซื้อตราสินค้าที่ใช้การวางตราสินค้ามีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ทัศนคติโดยรวมต่อการวางตราสินค้านั้นยังมีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับความต้องการการกำกับดูแลการวางตราสินค้าโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1) to study consumers’ attitude towards brand placement and 2) to examine consumers’ demand for regulation on brand placement in media. A survey research was conducted using questionnaires to gather data from 420 male and female samples, 15-49 years old, residing in Bangkok. The finding showed that consumers’ attitude towards brand placement as a whole and brand placement in selected media – film, television, and video/computer game – are neutral. Comparatively, consumers’ attitude towards implicit brand placement was more positive than explicit in all selected media. The research also found that consumers’ demand for regulation on brand placement was rather high. In addition, overall attitude towards brand placement and attitude and purchase intention towards placed brands were significantly positively related at 0.05 while overall attitude towards brand placement and overall demand for regulation on brand placement were significantly negatively related at 0.05.en
dc.format.extent2803922 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.294-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้บริโภค -- ทัศนคติen
dc.subjectโฆษณาแฝงen
dc.subjectระบบควบคุมแบบกำกับดูแลen
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคen
dc.titleทัศนคติและความต้องการการกำกับดูแลของผู้บริโภคต่อการวางตราสินค้าen
dc.title.alternativeConsumer's attitude and demand for regulation on brand placementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการโฆษณาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVittratorn.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.294-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutipong_th.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.