Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31786
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปารเมศ ชุติมา | - |
dc.contributor.author | ทิชา แสนสม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-06-01 | - |
dc.date.available | 2013-06-01 | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31786 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียที่เป็นเม็ดฝุ่นในกระบวนการพ่นสีกันชนหน้าพลาสติกของรถยนต์ โดยประยุกต์ใช้แนวทางของซิกซ์ ซิกมา จากการศึกษาข้อมูลพบว่า ผลิตภัณฑ์มีปริมาณของเสียที่เกิดจากเม็ดฝุ่นเป็นจำนวนมาก โดยวัดสัดส่วนของเสียที่เกิดจากเม็ดฝุ่นต่อปริมาณการผลิตเท่ากับ 151,259 DPPM (Defect Part per Million) ซึ่งสาเหตุหลักมาจากความสกปรกของอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการพ่นสี และระบบจ่ายอากาศในห้องพ่นสี ส่งผลให้บริษัทต้องสูญเสียต้นทุนนับหลายล้านบาทต่อปี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับปรุงกระบวนการผลิตอย่างเร่งด่วน ทีมงานจึงได้นำเอาแนวทางของซิกซ์ ซิกมา ทั้ง 5 ขั้นตอนมาใช้ คือ การนิยามปัญหา การวัดเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ และการควบคุมกระบวนการ ตามลำดับ การดำเนินงานในการปรับปรุงคุณภาพนั้น เริ่มจากการศึกษากระบวนการทำงานเพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดปัญหาเม็ดฝุ่น โดยจะทำไปพร้อมกับการศึกษาความแม่นยำและถูกต้องของระบบการวัด การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วยแผนภาพแสดงเหตุและผล และคัดเลือกตัวแปรที่จะนำมาศึกษาโดยการใช้เทคนิคลักษณะบกพร่องและผลกระทบ(FMEA) จากนั้นจึงนำเอาปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อปัญหาเม็ดฝุ่นมาทำการทดสอบด้วยวิธีทางสถิติ และหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมของกระบวนการโดยการประยุกต์การออกแบบการทดลอง และควบคุมกระบวนการผลิตเพื่อป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำอีก จากการปรับปรุงกระบวนการพ่นสีกันชนหน้าพลาสติกของรถยนต์ ด้วยแนวทางซิกซ์ ซิกม่า พบว่าจำนวนของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการพ่นสีกันชนหน้าพลาสติกของรถยนต์หลังการปรับปรุงเท่ากับ 46,892 DPPM ซึ่งสามารถลดของเสียได้ 69% ของของเสียก่อนการปรับปรุง | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to improve quality by using six-sigma approach in order to reduce black seed defect in plastic front car-bumper painting process. There are many defects that result from black seed. The current process has 151,259 DPPM (Defect Part per Million). The main causes of this problem result from dirty equipments and air balance system in painting process which incurs more than a million baht per year. The 5 steps of six-sigma approach quality improvement are exercised in this research including defining phase, measurement phase, analysis phase, improvement phase, and control phase respectively. This research studied in details of the production process to find factors that cause black seed defect in the measurement and analysis phases. The main factors were selected and analyzed by Failure Mode and Effect Analysis (FMEA). Then, those factors were tested by statistic and found the suitable parameter settings of the process by Design of Experiment (DOE). Having found the appropriate parameters, the process was controlled to protect reoccurrence problems. After the improvement of front car-bumper painting process with six sigma approach, it is found that the defect was reduced to 46,892 DPPM which is 69% of defect before the improvement. | en |
dc.format.extent | 2694605 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.748 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รถยนต์ -- การพ่นสี | en |
dc.subject | รถยนต์ -- การพ่นสี -- การลดปริมาณของเสีย | en |
dc.subject | การลดปริมาณของเสีย | en |
dc.subject | ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) | en |
dc.subject | Automobiles -- Painting | en |
dc.subject | Automobiles -- Painting -- Waste minimization | en |
dc.subject | Waste minimization | en |
dc.subject | Six sigma (Quality control standard) | en |
dc.title | การลดของเสียที่เป็นเม็ดฝุ่นในกระบวนการพ่นสีกันชนหน้าพลาสติกของรถยนต์โดยใช้แนวทางซิกซ์ ซิกมา | en |
dc.title.alternative | Black-seed defect reduction in painting process of plastic front car-bumper by six sigma approach | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Parames.C@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.748 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
tichar_sa.pdf | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.