Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ คุณประเสริฐ-
dc.contributor.authorวิบูลย์ชัย ใยบัวเทศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-01T04:33:49Z-
dc.date.available2013-06-01T04:33:49Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31799-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractพัฒนารูปแบบการสอนศิลปศึกษาโดยใช้กิจกรรมศิลปศึกษาแบบสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และ 2) แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มตัวอย่างประชากร ได้แก่ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปศึกษาและคุณธรรมจริยธรรม จำนวน 6 ท่าน 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปศึกษา ด้านการสอนศิลปศึกษาระดับประถมศึกษาและคุณธรรมจริยธรรม จำนวน 30 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อรูปแบบการสอนศิลปศึกษา โดยใช้กิจกรรมศิลปศึกษาแบบสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-3 โดยใช้เนื้อหาเรื่องทัศนธาตุใน 3 ประเด็น 1) รูปแบบการสอนศิลปศึกษาโดยการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ ความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต และความพอเพียง 2) รูปแบบการสอนศิลปศึกษาโดยการจัดกิจกรรมศิลปศึกษาที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ การวาดภาพระบายสี การพิมพ์ภาพ และการปั้น และ 3) รูปแบบการสอนศิลปศึกษา เรื่องทัศนธาตุ ตามองค์ประกอบทั้ง 6 อย่าง ที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ (1) เส้น: การวาดเส้นตรงแนวตั้ง (2) สี: การใช้สีเขียว (3) รูปร่างและรูปทรง: รูปทรงตามธรรมชาติ (4) แสงและเงา: การไล่ค่าน้ำหนัก (5) พื้นผิว: การทำให้พื้นผิวเรียบ และ (6) ช่องว่าง: การปล่อยให้มีพื้นที่ว่างที่พอเหมาะ 2. ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อรูปแบบการสอนศิลปศึกษา โดยใช้กิจกรรมศิลปศึกษาแบบสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-3 โดยใช้เนื้อหาเรื่องหลักสำคัญของการออกแบบใน 3 ประเด็น 1) รูปแบบการสอนศิลปศึกษาโดยการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ ความสามัคคี ความซื่อสัตย์สุจริต และความพอเพียง 2) รูปแบบการสอนศิลปศึกษาโดยการจัดกิจกรรมศิลปศึกษาที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ การวาดภาพระบายสี การพิมพ์ภาพ และการปั้น และ 3) รูปแบบการสอนศิลปศึกษาเรื่องหลักสำคัญของการออกแบบทั้ง 9 ประการ ที่มีความเหมาะสมมากที่สุดคือ (1) เอกภาพ: ความเป็นหนึ่งเดียวกัน (2) ดุลยภาพ: ความสมดุลที่ทำให้เกิดความพอดี (3) สัดส่วน: ส่วนประกอบของรูปร่างรูปทรงที่มีระยะและสัมพันธ์กัน (4) ความกลมกลืน: ผสมผสาน รวมเป็นหนึ่งเดียว (5) ความขัดแย้ง: การตัดกันของคู่สี (6) จังหวะ: การซ้ำกันอย่างต่อเนื่อง และมีช่วงห่าง ที่เท่ากัน (7) การทำซ้ำ: การจัดวางให้ดูเป็นกลุ่มก้อน (8) การลดหลั่น: การเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็น ค่อยไป และ (9) ทิศทาง: รูปแบบการชี้นำที่มีความชัดเจนen
dc.description.abstractalternativeTo develop art education instructional model by using art activities with virtue and morality for elementary school grade one to three students. The research tools were 1) An interview 2) A set of questionnaire. The population were 1) 6 expertises in art education and morality, for conducting interview; 2) 30 expertises in education from three different branches such as virtue and morality, art education and elementary art instruction, for conducting questionnaire. The research’s data was evaluated by the means of percentage, standard deviation and also analyzed all contents. The research from questionnaire result were: 1. Art Elements, the expert groups agreed with three factors as follows: 1) The best model of art education for primary students by using art activities with virtue and morality should consist of generosity, honesty and sufficiency. 2) The suitable art activities for the model of art education are painting, print making and sculpture. 3) The appropriate teaching art education on art elements consists of six art elements which are (1) line, (2) color, (3) shape and form, (4) light and shade, (5) texture and (6) space. 2. Design Principles, the expert group also agreed with three factors as follows: 1) The proper model of art education combined with virtue and morality comprises of harmony, honesty and sufficiency. 2) The right art activities for the model of art education are painting, print making and sculpture. 3) The suitable art educational instruction about design principles consists of nine design principles which are (1) unity, (2) balance, (3) proportion, (4) harmony, (5) contrast, (6) rhythm, (7) repetition, (8) gradation and (9) direction.en
dc.format.extent2060715 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.845-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectศิลปกรรม -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.subjectความดีen
dc.subjectจริยธรรมen
dc.subjectArt -- Study and teaching (Elementary)en
dc.subjectActivity programs in educationen
dc.subjectVirtueen
dc.subjectMoral educationen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสอนศิลปศึกษาโดยใช้กิจกรรมศิลปศึกษาแบบสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-3en
dc.title.alternativeThe development of an art educational model by using art activities integrating virtue and morality for grades one to three studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSanti.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.845-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Viboonchai_Ya.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.