Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorปิยาพร โชตินันทกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-19T03:20:06Z-
dc.date.available2013-06-19T03:20:06Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32292-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการจัดสรรรถบรรทุกแบบพลวัตภายใต้สภาวะความไม่แน่นอนด้วยวิธีการอย่างง่าย ซึ่งกระบวนการวิจัยที่ศึกษาเริ่มถูกพัฒนาช่วงปลายทศวรรษที่ 80 และได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงทศวรรษที่ 90 โดยเป็นการพยายามเพิ่มประสิทธิภาพในการหาจำนวนรถที่เหมาะสมที่สุดในแต่ละศูนย์กระจายสินค้าภายใต้โครงข่ายที่มีปริมาณความต้องการไม่แน่นอน งานวิจัยนี้ได้ใช้กระบวนการดังกล่าวและทำการพัฒนาระบบโดยใช้ตารางจัดการมาวิเคราะห์ซึ่งสามารถใช้เป็นพื้นฐานสำหรับช่วยในการตัดสินใจในการกระจายรถบรรทุกในแต่ละวันที่ทราบจำนวนการขนส่ง รวมทั้งปริมาณรถสำรองเพื่อใช้ในการกระจายรถสำหรับวันถัดไป โดยชุดข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินงานเป็นของผู้ประกอบการขนส่งภายในประเทศไทย ระบบการทำงานดังกล่าวเป็นระบบที่สามารถตรวจสอบผลและวิเคราะห์ผลได้จากแบบจำลองที่แสดงการตัดสินใจการกระจายรถบรรทุกโดยระบบนำไปสู่ผลการจัดสรรรถบรรทุกที่ได้มีประสิทธิภาพมากกว่าการปฏิบัติการจริงที่มองข้ามความไม่แน่นอนของปริมาณความต้องการของลูกค้าen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to develop a computerized system for stochastic dynamic truck allocation applying a readily available methodology. The methodology, which was initially developed in the late 1980’s and was continuously improved during the 1990’s, attempted to optimize the positioning of available trucks in a multi-terminal truckload network under uncertain demand. This research employs this methodology and develops a corresponding spreadsheet system that can be used on a daily basis to assist truckload dispatchers in simultaneously deciding on a given day how to assign trucks to known loads and how to reposition trucks for the next day assignment. Given a data set supplied by a truckload company in Thailand, the system is validated and the analysis results generated by the model reveal that the decisions recommended by the system can lead to a more effective truck allocation than the typical real-world practice that totally ignores the randomness in customer demands.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.622-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการโปรแกรมพลศาสตร์en_US
dc.subjectกระบวนการสโตแคสติคen_US
dc.subjectการจัดสรรทรัพยากรen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectDynamic programmingen_US
dc.subjectStochastic processesen_US
dc.subjectResource allocationen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.subjectShipment of goodsen_US
dc.subjectTrucksen_US
dc.titleระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการจัดสรรรถบรรทุก แบบพลวัตรภายใต้สภาวะความไม่แน่นอนen_US
dc.title.alternativeComputerized system for stochastic dynamic truck allocationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsompong.si@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.622-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyaporn_ch.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.