Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน อ่อนน่วม-
dc.contributor.authorอรไท อนุถาวร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-14T10:27:27Z-
dc.date.available2006-06-14T10:27:27Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741720939-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/324-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสอนโดยใช้แนวคิดปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 2 กลุ่ม กลุ่มละ 39 คน กลุ่มทดลองได้รับการสอนโดยใช้แนวคิดปฏิสัมพันธ์ กลุ่มควบคุมได้รับการสอนตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการสอนโดยใช้แนวคิดปฏิสัมพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที (t test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ แนวคิดปฏิสัมพันธ์และนักเรียนที่เรียนตามปกติไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 2. นักเรียนส่วนใหญ่เห็นด้วยว่า การเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดปฏิสัมพันธ์ ทำให้นักเรียนชอบกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ นักเรียนรู้สึกว่ามีความก้าวหน้าทางการเรียนดีขึ้น และนักเรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน ๆen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study the effects of using an interactive approach on mathematics learning achievement of prathom suksa five students. The samples of this study were 78 prathom suksa five students at Kasetsart University Laboratory School. They were divided into two groups, 39 students each. The experimental group was taught by using an interactive approach while the control group was taught by using a contemporary approach. The instruments were the mathematics learning achievement test and the questionnaire. Data were analyzed by using t - test. The findings indicated that : 1. There was no significant difference between the mean score of students learned by using an interactive approach and a contemporary approach at the .05 level. 2. Most of students were agreed that learning mathematics by using an interactive approach helped them having learning progress in mathematics. They were fond of activities used in the classroom and having a chance to share their experiences with their friends.en
dc.format.extent4801496 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.693-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.titleผลของการสอนโดยใช้แนวคิดปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeEffects of using an interactive approach on mathematics learning achievement of prathom suksa five studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDuangduen.O@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.693-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Orathai.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.