Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอินทิรา พรมพันธุ์-
dc.contributor.authorณรงค์ศักดิ์ สุกแก้วมณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-11T13:17:49Z-
dc.date.available2013-07-11T13:17:49Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33027-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มาหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ของศิลปินนักวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยและ เพื่อพัฒนารายวิชาการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์สำหรับหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต 6 ด้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ด้วยการสุ่มเฉพาะเจาะจงประกอบด้วย ศิลปินวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ 9 ท่าน นักวิชาการศิลปศึกษาและอาจารย์สอนในวิชาวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบสอบถาม ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อมาวิเคราะห์ด้านเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผลจากการสัมภาษณ์และสังเกต กระบวนการทำงานของศิลปินนักวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ ต่างมีวิธีการทำงานวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยมีพื้นฐานจากกระบวนการวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ 7 ขั้นตอน ในส่วนของความคิดเห็นจากแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เห็นด้วยมาก ในการพัฒนารายวิชาการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ สำหรับหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต ทั้ง 6 ด้าน คือ 1.จุดประสงค์การเรียนการสอน คือ เพื่อให้ผู้เรียนมรู้เข้าใจ เห็นคุณค่าและสามารถถ่ายทอดตามกระบวนการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ 2. เนื้อหาวิชา คือ ศึกษาประวัติศาสตร์วาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ 3. กิจกรรมคือ จัดการศึกษานอกสถานที่จริง 4. วิธีการสอน คือจัดกิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียนจากประสบการณ์จริง 5.การประเมินผล คือประเมินตามสภาพจริงตามจุดประสงค์ที่วางไว้ 6. แหล่งอ้างอิง นักวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ หนังสืองานวิจัย สื่อเทคโนโลยีการเรียนการสอน สรุปได้ว่ามีความเหมาะสมและเป็นไปได้ที่จะนำวิชาการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ นำมาใช้จัดการเรียนการสอนศิลปศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this qualitative research are to study the processes in scientific illustration of Thai scientific illustration artists and to develop a course in scientific illustration for the graduated art education program. The course is covered in 6 aspects. Subjects in this study are 9 artists and, 10 teachers and educators in scientific illustration by purposive sampling. The tools are comprised of interview form observation form and questionnaire. Data from the forms and the questionnaire were collected and analyzed. The results revealed from interviews and observations that each scientific illustration artist had unique individual style of drawing on the same 7 principal steps. In the part of opinions from questionnaires, most of them positively approved to develop a graduated course in scientific illustration for the art education program for all 6 aspects. The learning objectives for students are to understand, realize the goodness and, able to transfer the knowledge of scientific illustration. The course contents are to study the history and the process of scientific illustration. The learning activities are group discussion and analysis to improve outcomes and skills. The teaching methods are out-class activities with authentic work place, actual samples and, professionals in real working situations. The evaluation is to evaluate according to the learning objectives. The references are professionals, text books, scientific papers and, other teaching media. The study concluded that it is very appropriated and possible to develop a course in scientific illustration for the graduated art educationen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1325-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาพวาดทางวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectการศึกษา -- หลักสูตรen_US
dc.subjectScientific illustrationen_US
dc.subjectEducation -- Curriculaen_US
dc.titleการพัฒนารายวิชาการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์ สำหรับหลักสูตรศิลปศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตen_US
dc.title.alternativeThe development of scientific illustration course in art education curriculum at undergraduate levelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorIntira.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1325-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
narongsak_su.pdf7.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.