Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์-
dc.contributor.authorปภัสสร์ ฟุ้งธรรมสาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-26T08:32:18Z-
dc.date.available2013-07-26T08:32:18Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33428-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาผลกระทบของการเคลื่อนที่ร่างกายส่วนล่างของมนุษย์ต่อการทำงาน Pointing task และ Steering task บนคอมพิวเตอร์ งานที่ใช้ในการทดสอบอ้างอิงมาจากมาตรฐานการประเมินการเคลื่อนไหวของมนุษย์ การเคลื่อนไหวที่ร่างกายที่ส่วนล่างกระทำโดยการสร้างอุปกรณ์พิเศษเพื่อบังคับให้เท้าของอาสาสมัครเคลื่อนที่ไปตามรูปแบบและความเร็วที่กำหนด การทดลองครั้งที่หนึ่งเป็นการทดสอบหาความเร็วสูงสุดที่มีผลกระทบต่อการทำงาน โดยมีอาสาสมัครจำนวน 5 คน การเคลื่อนที่เท้าเป็นลักษณะปั่นจักรยาน การทดสอบครั้งที่สองเป็นการทดสอบหาความเร็วต่ำสุดที่มีผลกระทบต่อการทำงาน มีอาสาสมัคร จำนวน 10 คน การเคลื่อนที่เท้าเป็นลักษณะนั่งยืดหดขาสลับกันซ้ายขวา ผลการศึกษาพบว่าการเพิ่มการเคลื่อนไหวให้กับร่างกายมีผลกระทบต่อการทำงานของมนุษย์ แต่ทว่าผลกระทบดังกล่าวแตกต่างกันไปตามแต่ละงาน อย่างไรก็ดีผลการทดสอบได้แสดงถึงช่วงการเคลื่อนที่ซึ่งมีผลกระทบต่อการทำงานเป็นพิเศษ การทดสอบครั้งที่หนึ่งพบว่า การเคลื่อนที่ขาด้วยความเร็ว 60 รอบต่อนาทีหรือสูงกว่า จะมีผลกระทบต่อการทำงานของมนุษย์อย่างชัดเจน ผู้ทดสอบจะใช้เวลาในการทำงานมากขึ้นที่ความเร็วนี้ นอกจากนี้การทดสอบครั้งที่สองพบว่า การเคลื่อนที่ขาด้วยความเร็ว 10 รอบต่อนาทีหรือต่ำกว่า จะมีผลกระทบต่อการทำงานของมนุษย์อย่างชัดเจนเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีการเคลื่อนไหวดังกล่าวแทบไม่มีผลกระทบต่อความแม่นยำในการทำงานของมนุษย์ เมื่อเปรียบเทียบกับความผันแปรภายในตัวของมนุษย์เองด้วยวิธีการทางสถิติ สุดท้ายนี้ การปรับปรุงอุปกรณ์ การศึกษาผลต่อการทำงานประเภทอื่น และการศึกษาผลกระทบในระยะยาว เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาต่อยอดจากงานวิจัยนี้ต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThis research investigates effect of additional movement impose on lower limp on pointing task and steering task which performed on personal computer. These basic tasks are used as standdard to evaluate human performance. The additional movement was performed by a special equipment which controls the movement of both legs of human at specified patterns and speeds. When both legs were moved with cyclic motion, the first experiment revealed a "upper" speed which effect human working performance. This experiment performed on five volunteers. The second experiment performed on ten volunteers and found that there is a minimum velocity which effects a human working performance. The results indicated that the addition movement on lower limps can effect on working efficiency of human. The effect is high in a specific range of speed. In the first experiment, we found that the leg movement at 60 rpm or higher had an effect on the jop. The volunteers spent more time while performed their task. We also found the second experiment that the leg movement at 10 rpm or lower had an effect on the task too. However, thesi motions had no effect on accuracy when compare to human deviation by statistic. Finally the improvement of equipment, the effect on other task and the long term effect should be concerned for further research.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.20-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเคลื่อนไหวของมนุษย์en_US
dc.subjectโรคเกิดจากอาชีพen_US
dc.subjectขา -- การเคลื่อนไหวen_US
dc.subjectHuman mechanicsen_US
dc.subjectOccupational diseasesen_US
dc.subjectLeg -- Movementen_US
dc.titleการศึกษาเชิงการทดลองสำหรับผลของการเคลื่อนที่ขาด้วยอุปกรณ์ภายนอกต่ออัตราการใช้พลังงานและประสิทธิภาพในการทำงานen_US
dc.title.alternativeExperimental study on effect of lower limb motion with external device to metabolism and work efficiencyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfmewwn@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.20-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
papat_fu.pdf9.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.