Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33842
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จินตนา ยูนิพันธุ์ | |
dc.contributor.author | เทียมใจ ศิริวัฒนกุล | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-08-03T05:39:15Z | |
dc.date.available | 2013-08-03T05:39:15Z | |
dc.date.issued | 2534 | |
dc.identifier.isbn | 9745799629 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33842 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพยาบาลที่ส่งเสริมการดูแลตนเองต่อความพึงพอใจและภาวะสุขภาพของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย ตัวอย่างประชากรประกอบด้วยผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายที่อยู่ในระยะพักฟื้นในโรงพยาบาล จำนวน 30 คน จัดเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยการจับคู่ เครื่องมือที่ใช้ คือ แผนการพยาบาลที่ส่งเสริมการดูแลตนเอง แบบวัดความพึงพอใจและแบบวัดภาวะสุขภาพ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง .96 และ .88 ตามลำดับ ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. การเปรียบเทียบความพึงพอใจรวมทุกด้านของตัวอย่างประชากรกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะสุขภาพรวมทุกด้านของตัวอย่างประชากรกลุ่มทดลองภายหลังได้รับการพยาบาลที่ส่งเสริมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อเปรียบเทียบเป็นรายด้าน พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะสุขภาพด้านทุเลาจากอาการไม่สุขสบาย ด้านการยอมรับในขีดจำกัดของความเจ็บป่วย และด้านการปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับภาวะของโรค หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, .01 และ .001 ตามลำดับ แต่ด้านการพักผ่อนเพียงพอค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน 3. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะสุขภาพรวมทุกด้านของตัวอย่างประชากรกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ระหว่างการทดลอง และหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะสุขภาพสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi experimental research was to examine the effects of nursing care facilitating self-care on satisfaction and health status of myocardial infarction patients. The research samples consisted of 30 convalescent myocardial infraction in-patients assigned into an experimental group and a control group by match paired. The nursing care facilitating self-care were provided for the subjects in the experimental group. Research instruments were the plan of nursing care facilitating self-care, satisfaction questionnaire and health status scale developed by the researcher. The reliability of the latter tools were .96 and .88, respectively. The major findings were as followed :- 1. The mean score of patient satisfaction of the patients receiving the nursing care facilitating self-care was significantly higher than that of patients in the control group, at the .01 level. 2. The mean score of total health status of the experimental group after receiving the nursing care facilitating self-care was significantly higher than before the experiment, at the .01 level. Similar findings were found when considering the patients’ health status in the aspects of recovering from discomfort, accepting their own limitation and practicing self-care appropriately. However, there was no different between the mean scores of the health status in the aspect of sleep and rest before and after the experiment. 3. The mean scores of health status of the experimental group both during and after the experiment were significantly higher than those of the control group, at the .001 level. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กล้ามเนื้อหัวใจตาย | |
dc.subject | ผู้ป่วย -- จิตวิทยา | |
dc.subject | การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง -- ไทย | |
dc.subject | ความพอใจของผู้ป่วย -- ไทย | |
dc.subject | การพยาบาล -- ไทย | |
dc.title | ผลของการพยาบาลที่ส่งเสริมการดูแลตนเองต่อความพึงพอใจ และภาวะสุขภาพของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย | en_US |
dc.title.alternative | Effects of nursing care facilitating self-care on satisfaction and health status of myocardial infarction patiente | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thiamchai_si_front.pdf | 5.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thiamchai_si_ch1.pdf | 6.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thiamchai_si_ch2.pdf | 14.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thiamchai_si_ch3.pdf | 5.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thiamchai_si_ch4.pdf | 10.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thiamchai_si_ch5.pdf | 8.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thiamchai_si_back.pdf | 15.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.