Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3420
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภิชัย ตั้งใจตรง-
dc.contributor.advisorอานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorวิริยะ เหลืองอร่าม, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-02-15T03:06:07Z-
dc.date.available2007-02-15T03:06:07Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741766505-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3420-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractระบบพยากรณ์ความสูงของคลื่นที่ใช้อยู่ในประเทศไทยมีพื้นฐานมาจากแบบจําลองเชิงตัวเลข WAve Model (WAM) ซึ่งยังขาดคุณสมบัติในการคํานวณคลื่นชายฝั่ง จึงได้ศึกษาโดยการนําผลการ คํานวณในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของ WAM มาเป็นพลังงานของบริเวณพื้นที่ขอบเปิดของ แบบจําลอง Simulating WAve Near shore (SWAN) ซึ่งเป็นแบบจําลองเชิงตัวเลขที่ออกแบบมาสําหรับ การคํานวณคลื่นบริเวณชายฝั่ง ระหว่างพื้นที่ ละติจูด 6 - 14 องศาเหนือ ลองจิจูด 99 - 103 องศา ตะวันออก ความละเอียดในการคํานวณ 3x3 กิโลเมตร ใช้ข้อมูลลมที่ความสูง 10 เมตร จากระดับน้ำทะเลความละเอียด 1 องศา x 1 องศา (111 x 111 ตารางกิโลเมตร) ทุกๆ 12 ชั่วโมงจาก Navy Operational Global Atmosphere Prediction System (NOGAPS) พบว่าแบบจําลองทั้งสองสามารถทํางานต่อเนื่องกันได้เป็น อย่างดี โดย SWAN สามารถรับพลังงานของคลื่น ณ จุดที่กําหนดให้ในบริเวณพื้นที่ขอบเปิดของการคํานวณจาก WAM ได้ผลการคํานวณคลื่นที่ได้จากแบบจําลอง SWAN ในบริเวณอ่าวไทยในช่วงสภาวะอากาศปกติในฤดูมรสมตะวันออกเฉียงเหนือ (มกราคม พ.ศ.2546) ช่วงเปลี่ยนฤดูมรสุม (มีนาคม พ.ศ.2546) และฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (มิถุนายน พ.ศ.2546) เมื่อเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากการตรวจวัดด้วยทุ่นสํารวจสมุทรศาสตร์ระยองและดาวเทียม JASON1 และ GFO แล้วพบว่าความสูงของคลื่นที่ได้จากแบบจําลองเชิงตัวเลข SWAN จะมีค่าใกล้เคียงกับผลการตรวจวัดในช่วงเวลาและบริเวณที่ผลการคํานวณลมจากแบบจําลองเชิงตัวเลข NOGAPS มีค่าใกล้เคียงกับผลจากการตรวจวัดผลการคํานวณความสูงของคลื่นในช่วงพายุไต้ฝุ่นลินดา (21 ตุลาคม - 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2540) เมื่อเปรียบเทียบกับผลการตรวจวัดจากทุ่นลอยระยองและหัวหินแล้วพบว่า ความสูงของคลื่นที่คํานวณได้ทั้งสองจุดยังต่ำกว่าผลที่ได้จากการตรวจวัดแม้ว่าจะเพิ่มเงื่อนไขของ Friction velocity ให้สูงขึ้น ทั้งนี้ เนื่องมาจากความเร็วลมที่ได้จากแบบจําลองเชิงตัวเลข NOGAPS ยังคงมีค่าต่ำกว่าความเร็วลมที่ได้จากการตรวจวัดด้วยen
dc.description.abstractalternativePresent wave forecasting system in Thailand is based on WAve Model (WAM) which does not include the near shore wave equations. This study uses wave spectrum of South East Asia WAM as input to the open boundary of Simulating WAve Near shore (SWAN) model for calculating wave in the Gulf of Thailand between latitudes 6 - 14 N. and longitudes 99 - 103 E. The model resolution is 3 x 3 sq. kilometers. Both models were forced by wind field from U.S. Navy Operational Global Atmosphere Prediction System (NOGAPS) which has the resolution of 1 degree x 1 degree (111 x 111 sq. kilometers) and are available every 12 hours. Both models can work together smoothly. SWAN outputs in normal weather conditions during NE monsoon season (January 2003), intermediate monsoon season (March 2003) and southwest monsoon season (June 2003) agree well with the observed waves from Rayong buoy and JASON1 and GFO satellite only when computed wind condition from NOGAPS agree with the observed values. Wave results from SWAN output during typhoon Linda (21 November - 10 September 1997) were lower than observed data from Rayong and Hua-hin buoys. Probably because NOGAPS wind speed used in the models was slower than the observed one.en
dc.format.extent2711871 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en
dc.subjectคลื่น--พยากรณ์en
dc.subjectอ่าวไทยen
dc.titleการจำลองเชิงตัวเลขของคลื่นใกล้ฝั่งในอ่าวไทยen
dc.title.alternativeNumerical modeling of near shore wave in the Gulf of Thailanden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์ทางทะเลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiriya.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.