Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorอัมรินทร์ นันทะเสน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-09-16T06:26:57Z-
dc.date.available2013-09-16T06:26:57Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35921-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์แนวคิดระบบต้นทุนฐานกิจกรรม เพื่อใช้ในการประมาณการต้นทุนมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง เริ่มจากการศึกษาโครงสร้างการจำแนกงานและวิเคราะห์กิจกรรมการผลิต กำหนดตัวผลักดันต้นทุน คำนวณปริมาณตัวผลักดันต้นทุนและคำนวณอัตราต้นทุนต่อตัวผลักดันต้นทุน ทำการปันส่วนต้นทุนของแผนกสนับสนุนทั้งหมดลงสู่แต่ละกระบวนการ ซึ่งต่างจากวิธีการปันต้นทุนแบบเดิมที่ใช้วิธีการปันต้นทุนโดยใช้ยอดขายของผลิตภัณฑ์เป็นตัวกำหนด ผลการวิจัยพบว่า วิธีการปันต้นทุนโดยประยุกต์ใช้แนวคิดระบบต้นทุนฐานกิจกรรม เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการปันต้นทุนแบบเดิม มีความแตกต่างกันดังต่อไปนี้ ต้นทุนมาตรฐานที่คำนวณได้ของผลิตภัณฑ์ชนิด T19 มีค่าความแปรปรวนจากต้นทุนการผลิตจริงเท่ากับ 0.05% ผลิตภัณฑ์ชนิด S25 มีค่าความแปรปรวนจากต้นทุนการผลิตจริงเท่ากับ -0.39% และผลิตภัณฑ์ชนิด T10 มีค่าความแปรปรวนจากต้นทุนการผลิตจริงเท่ากับ 8.06% ซึ่งส่งผลให้ได้ต้นทุนมาตรฐานการผลิตที่ได้มีค่าใกล้เคียงกับความเป็นจริง ซึ่งจากผลการคำนวณต้นทุนมาตรฐานแบบใหม่นี้ ได้รับการยอมรับจากผู้บริหาร และยังสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปพิจารณาเลือกการใช้กิจกรรมที่มีต้นทุนต่ำกว่า เพื่อลดต้นทุนการผลิตต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to apply the Activity-Based Cost System to estimating standard cost of case study product by starting study work breakdown structure (WBS) and analyzes activity, specify cost drives, calculate quantity of cost drivers and calculate costs per cost driver rates, allocate cost of support unit to each process. This system is different from traditional cost allocation which allocated cost by sales of particular product. It was found that the standard cost of product calculated by Activity-Based Cost was different from that of traditional cost allocation, the variation of T19, S25, and T10 products from actual cost were 0.05%, -0.39%, and 8.06%, respectively. Therefore, the standard cost of product calculated by this system is nearly equal the actual cost. Then, this system was accepted by the executives and will be able to apply this information to select low-cost activity to decrease manufacturing cost further.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.648-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมหลอดไฟ -- ต้นทุนen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมหลอดไฟ -- การควบคุมต้นทุนการผลิตen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- ต้นทุนen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมต้นทุนการผลิตen_US
dc.subjectBulb industry -- Costsen_US
dc.subjectBulb industry -- Cost controlen_US
dc.subjectAutomobile supplies industry -- Costsen_US
dc.subjectAutomobile supplies industry -- Cost controlen_US
dc.titleการปรับปรุงระบบการคำนวณต้นทุนมาตรฐานของโรงงานหลอดไฟยานยนต์en_US
dc.title.alternativeStandard costing system improvement of an automotive bulb factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJeirapat.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.648-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
amrin_na.pdf3.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.