Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorดนย์วิทย์ ประทีปวัฒนาสถิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-09-28T06:20:41Z-
dc.date.available2013-09-28T06:20:41Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35987-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแยกขยะชุมชนที่ย่อยขนาดที่ประกอบด้วย เศษกระดาษ เศษพลาสติก และขยะอินทรีย์ โดยต้องการแยกขยะอินทรีย์ออกจากกระดาษและพลาสติกเพื่อนำขยะอินทรีย์ไปใช้ในการผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ ในการทดลองใช้เครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบสามวัฏภาคในการแยกขยะชุมชน โดยกระบวนการนี้ใช้น้ำและอากาศเป็นตัวพาพลาสติให้ลอยขึ้นทางยอดหอ และนำเอาขยะอินทรีย์ที่มีความหนาแน่นมากกว่าออกทางก้นหอ การวิจัยแบ่งเป็นสองขั้นตอนในขั้นแรกเป็นการศึกษาและทดสอบความสามารถในการแยกของเครื่องปฏิกรณ์โดยมีตัวแปรที่ศึกษาคืออัตราไหลของน้ำ, อัตราไหลของอากาศ และอัตราไหลของสารป้อน ทำการทดลองแยกพลาสติกพอลิเอไมด์และพอลิคาร์บอเนต ผลปรากฏว่าเครื่องปฏิกรณ์สามารถแยกพลาสติกพอลิคาร์บอเนตจากพลาสติกพอลิเอไมด์ได้โดยมีประสิทธิภาพการแยกเท่ากับ 0.67 จากนั้นนำความรู้และประสบการณ์ในการใช้เครื่องปฏิกรณ์มาทดสอบการแยกกับขยะจริงเรียกขั้นนี้ว่าการทดสอบการแยกขยะชุมชนที่ย่อยขนาด โดยมีตัวแปรคืออัตราไหลของน้ำที่ 20, 25, 30, 35 และ40 ลิตรต่อนาที อัตราไหลของอากาศที่ 0, 10, 15 และ20 ลิตรต่อชั่วโมง อัตราไหลของสารป้อนที่ 60, 85, 100 และ200 กรัมต่อนาที และศึกษาขนาดของขยะพลาสติกพอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 1x3 และ 1x5 ตารางเซนติเมตร ในการทดลองพบว่าขนาดของขยะพลาสติกไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการแยกและได้ประสิทธิภาพการแยกมากที่สุดเท่ากับ 0.87 คือที่สภาวะอัตราไหลของน้ำเท่ากับ 35 ลิตรต่อนาที อัตราไหลของอากาศเท่ากับ 20 ลิตรต่อชั่วโมง และอัตราไหลของสารป้อนที่ 85 กรัมต่อนาทีen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied separation of shredded municipal waste containing papers, plastics and organic waste for biogas production. In experiment, Three phase fluidized bed reactor was used in session. In this process, water and air contributed plastic and paper to top of column and high density organic waste was lead to bottom of column. The research was divided into two steps. First to study and test separation performance of Three phases fluidized bed reactor. The variables were water flow rate, air flow rate and feed flow rate. The result shown that separate performance PC plastic (polycarbonate) from PA plastic (polyamide) in reactor was 0.67.Subsequently, the method and experimental was tested in real waste. The water flow rates in this study were 20, 25, 30, 35 and 40 L/min. Air flow rates were 0, 10, 15 and 20 L/hr. Feed flow rates were 60, 85, 100 and 200 g/min. Furthermore, sizes of plastic waste which were 1x3 and 1x5 cm2 were studied. The result shown that size of plastic has no significant in separate performance and optimum performance was 0.87. The appropriate factors were 35 L/min of water flow rate, 20 L/hr. of air flow rate and 85 g/min of feed flow rate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1026-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการคัดแยกขยะen_US
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์แบบฟลูอิไดซ์en_US
dc.subjectฟลูอิไดเซชันen_US
dc.subjectFluidized reactorsen_US
dc.subjectFluidizationen_US
dc.titleการแยกขยะชุมชนย่อยขนาดในฟลูอิไดซ์เบดแบบสามวัฏภาคen_US
dc.title.alternativeSeparation of shredded municial watse in three-phase fluidied beden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเชื้อเพลิงen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1026-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
donvit_pr.pdf15.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.