Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ-
dc.contributor.authorวินิตา แก้วเกื้อ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-10T02:25:39Z-
dc.date.available2013-10-10T02:25:39Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36090-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุความสุขของนักเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลเชิงสาเหตุความสุขของนักเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระหว่างระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 จำนวน 900 คน เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติเชิงอ้างอิงประกอบ ด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน การวิเคราะห์อิทธิพลและการวิเคราะห์กลุ่มพหุโดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ 1. โมเดลเชิงสาเหตุความสุขของนักเรียนที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยปัจจัยที่มีขนาดอิทธิพลต่อความสุขของนักเรียนมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านโรงเรียนมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .760 โดยมีตัวแปรสังเกตได้ที่มีค่ามากที่สุด คือ คุณลักษณะครูและตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรความสุขของนักเรียนได้ร้อยละ 53.8 2. ตัวแปรที่ส่งผลต่อความสุขของนักเรียนในโมเดลเชิงสาเหตุความสุขของนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษามีตัวแปรปัจจัยเหมือนกัน คือ ตัวแปรปัจจัยด้านตนเอง ตัวแปรปัจจัยด้านครอบครัว และตัวแปรปัจจัยด้านโรงเรียน แต่น้ำหนักในตัวแปรที่ส่งผลในโมเดลต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to develop and to validate of a causal model of students’ happiness with empirical data 2) to test invariance of a causal model of students’ happiness in elementary school and secondary school under the office of basic education commission(obec) in Bangkok. The sample of this study was 900 students in elementary schools on fifth grade to sixth grade and students in secondary schools on eighth grade to ninth grade.The questionnaire was used as research instrument. Data was analyzed using descriptive statistics (e.g., means, S.D., C.V., skewness, kurtosis, pearson’s correlation by employing SPSS. Confirmatory factor analysis, path analysis and multiple group analysis by LISREL. Results were the following : 1. The causal model of students’ happiness fitted the empirical data. The most influential factor on students’ happiness was school factor by observed variables was trait of teacher influenced students’ happiness at most significant level. The variables in the model accounted for 53.8 percent of the total variance of students’ happiness. 2. The factors were influenced students’ happiness in the causal model of students’ happiness in elementary school and in secondary school were the same but parameters were variance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.709-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความสุขในเยาวชน -- การวัดen_US
dc.subjectความสุขในเด็ก -- การวัดen_US
dc.subjectความสุข -- การวัดen_US
dc.subjectHappiness in youth -- Measurementen_US
dc.subjectHappiness in children -- Measurementen_US
dc.subjectHappiness -- Measurementen_US
dc.titleการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุความสุขของนักเรียน : การวิเคราะห์กลุ่มพหุen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a causal model of students’ happiness : a multiple group analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDuangkamol.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.709-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
vinita_ka.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.