Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแนบบุญ หุนเจริญ-
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์-
dc.contributor.authorศรัณยู ตรียะโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-09T06:57:22Z-
dc.date.available2013-12-09T06:57:22Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37391-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการเติบโตของสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ส่งผลให้ปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นการขยายระบบผลิตและส่งกำลังไฟฟ้า เช่น การติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การเพิ่มจำนวนสายส่ง การเพิ่มจำนวนหม้อแปลง หรือการจัดรูปแบบการจ่ายไฟเป็นระบบเครือข่าย จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อรองรับความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น การขยายระบบดังกล่าวส่งผลให้ความต้านทานรวมของระบบส่งไฟฟ้าลดลง เป็นเหตุให้ขนาดกระแสลัดวงจร ณ จุดต่างๆ ในระบบมีค่าสูงขึ้น ซึ่งสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นอย่างมากมาย เช่น ในกรณีของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กระแสลัดวงจรค่าสูงได้สร้างความเสียหายแก่เซอร์กิตเบรกเกอร์ ด้วยเหตุนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงนำเสนอวิธีการกำหนดตำแหน่งและจำนวนการแบ่งแยกบัสที่เหมาะสม เพื่อช่วยลดกระแสลัดวงจรในระบบส่งไฟฟ้ากำลัง โดยพิจารณาเงื่อนไขจำกัดของระบบ เช่น พิกัดกระแสลัดวงจร พิกัดแรงดันบัส พิกัดสายส่ง การแยกตัวจากกันของระบบ ความมั่นคงของระบบ และข้อจำกัดของการแบ่งแยกบัสในทางปฏิบัติ โดยนำวิธีค้นหาตาบูชนิดปรับตัวได้มาประยุกต์ใช้ ในการหาตำแหน่งและจำนวนการแบ่งแยกบัสที่น้อยที่สุด ซึ่งแปรผันตรงกับเงินลงทุนที่จะใช้ในการแก้ปัญหา นอกจากนั้น ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ยังพิจารณาการหาตำแหน่ง และจำนวนการแบ่งแยกบัส ร่วมกับการติดตั้ง Current Limiting Reactor ในขนาดที่น้อยที่สุด เพื่อความยืดหยุ่นในการพิจารณาเงื่อนไขบังคับ สำหรับกระบวนการหาคำตอบที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาอีกด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, the growth of economy and society become a major factor influencing the higher electricity demand. Therefore, the expansion of electric power system, e.g. more generators, transmission lines, and transformers, is essential for supporting electricity demand growth. The expansion of system results in excessive short circuit currents compared to the interrupting capacity of circuit breakers. In case of the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT), high short circuit currents may cause damage to substation circuit breakers. This thesis proposes a method for determining optimal number and locations for bus splitting. The proposed method reduces short circuit currents by applying adaptive tabu search algorithm to solve the nonlinear optimization problem along with the consideration of system operating constraints, including short circuit current limits, bus voltage limits, transmission line limits, network isolation prohibition, and contingency violation. In addition to bus splitting, this thesis also proposes optimal number, locations for bus installing, and the smallest size of Current Limiting Reactor (CLR) to increase the feasible region bound by system constraints.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.398-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกระแสไฟฟ้าลัดวงจรen_US
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลังen_US
dc.subjectตำแหน่งฟอลต์en_US
dc.subjectShort circuitsen_US
dc.subjectElectric power systemsen_US
dc.subjectElectric fault locationen_US
dc.titleการแบ่งแยกบัสที่เหมาะสมเพื่อลดกระแสลัดวงจรในระบบส่งไฟฟ้ากำลัง โดยวิธีค้นหาตาบูชนิดปรับตัวได้en_US
dc.title.alternativeOptimal bus splitting for reducing short circuit current in transmission system by adaptive tabu searchen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornaebboon@yahoo.com-
dc.email.advisorSurachai.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.398-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarunyu_tr.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.