Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุลยพงศ์ วงศ์แสวง-
dc.contributor.advisorพิมพ์พร อุทยารัตน์-
dc.contributor.authorมยุรี จันทร์สายทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-20T04:14:41Z-
dc.date.available2013-12-20T04:14:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37579-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractปัจจุบันโปรตีนไหมกำลังได้รับความนิยมในการนำมาใช้เป็นชีววัสดุและ โครงร่างวิศวกรรมเนื้อเยื่อทางการแพทย์ เนื่องจากมีคุณสมบัติเข้ากันได้ดีกับร่างกาย โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาไฮโดรเจลที่มีส่วนผสมของโปรตีนไหมซิริซินและโปรตีนไหมไฟโบรอินด้วยการฉายรังสีแกมมาเพื่อใช้ปิดแผล ในการทดลองได้ผสมสารละลายโปรตีนไหมซิริซินหรือสารละลายโปรตีนไหมไฟโบรอินกับสารละลายพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ที่อัตราส่วนต่างๆ ก่อนเชื่อมขวางด้วยรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0-90 กิโลเกรย์ ให้เป็นไฮโดรเจล จากการทดสอบสมบัติทางกายภาพและสมบัติเชิงกลพบว่า ค่าการเกิดเจลเพิ่มขึ้นตามปริมาณรังสีที่เพิ่มขึ้น โดยมีค่าสูงสุดอยู่ที่ 55 % ที่ปริมาณรังสี 30 กิโลเกรย์ ในขณะที่การบวมน้ำลดลงประมาณ 66 % ตามปริมาณรังสีที่เพิ่มขึ้น ส่วนค่ายังมอดูลัส (E’)เพิ่มขึ้นตามสัดส่วนผสมของโปรตีนไหมซิริซินที่เพิ่มขึ้นจาก 0-50 % โดยปริมาตร ดังนั้นผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรตีนไหมซิริซินและโปรตีนไหมไฟโบรอินสามารถนำมาเป็นส่วนผสมของไฮโดรเจลที่ขึ้นรูปได้โดยการฉายรังสีแกมมาen_US
dc.description.abstractalternativeSilk protein has recently shown its potential as biomaterials and tissue- engineered scaffolds in biomedical applications due to its excellent biocompatibility. In this study, a prototypic wound dressing was developed from silk sericin (SS). Silk fibroin (SF) and polyvinyl alcohol (PVA) by gamma irradiation. Solutions of SS or SF were mixed with PVA before crosslinked by gamma irradiation at doses from 0-90 kGy. Results showed that the hydrogel possessed gel properties as the gel fraction increased with increasing irradiation dose, reaching a maximum of 55% at 30 kGy, whereas the equilibrium degree of swelling decreased by 66%. In addition, the Young’s modulus (E’) increased as SS and SF volume fraction increased from 0–50% .These findings have demonstrated that gamma irradiation can be used to fabricate wound dressings composed of SS and SF protein.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1150-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอลลอยด์en_US
dc.subjectโปรตีนen_US
dc.subjectรังสีแกมมาen_US
dc.subjectColloidsen_US
dc.subjectProteinsen_US
dc.subjectGamma raysen_US
dc.titleการเตรียมไฮโดรเจลจากโปรตีนไหมโดยการฉายรังสีแกมมาเพื่อใช้สำหรับปิดแผลen_US
dc.title.alternativePreparation of hydrogel from silk protein by gamma irradiation for wound dressing applicationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordoonyapo@berkeley.edu-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1150-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
mayuree_ju.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.