Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงค์กิจ-
dc.contributor.authorสุทธิดา นาคเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-03-07T06:34:43Z-
dc.date.available2014-03-07T06:34:43Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40285-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารเพื่อประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ กับการเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของสตรีที่มีบุตรแรกเกิด การวิจัยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารโครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสัมภาษณ์ผู้แทนในการรับผิดชอบการดำเนินงานสื่อสารเพื่อประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จาก 5 หน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท 2. การวิจัยเชิงปริมาณ จากกลุ่มตัวอย่างคือสตรีที่มีบุตรแรกเกิดในเขตกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกหรือผู้รับบริการของหน่วยงานทั้ง 5 หน่วยงาน จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(ANOVA) ค่าสัมประสิทธิ์แบบเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์แบบพหุถดถอย ซึ่งประมวลผลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการสื่อสารที่โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เลือกใช้ในการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คือ รูปแบบการสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ อันได้แก่ สื่อบุคคล สื่อมวลชน และสื่อเฉพาะกิจ 2. การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีความสัมพันธ์กับความรู้ การเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของสตรีที่มีบุตรแรกเกิด และ รูปแบบการสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ เป็นตัวแปรอิสระที่สามารถพยากรณ์ตัวแปรตาม อันได้แก่ ความรู้ การเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของสตรีที่มีบุตรแรกเกิดen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study communication patterns in public relations projects to promote breastfeeding and to measure attitude and behavioral changes regarding breastfeeding of newborn up to two years old. This research is conducted in two parts: 1. Qualitative method, including fact sheets about breastfeeding promotion campaign, in-depth interviews of communication managers responsible for the breastfeeding campaigns run by five different Public Health agencies; namely, Thai Breastfeeding Center, Siriraj Hospital, Bhumipol Adulyadej Hospital, Charoenkrung Pracharak Hospital, and Samitivej (Sukumvit) Hospital. 2. Quantitative method of collecting data was a survey using questionnaires to interview 400 mothers with newborn babies who attended breastfeeding promotion program from the above public health agencies. Statistics used in this research are percentage, mean scores, standard deviation, and One-way Analysis of Variance. Pearson's Product Moment Correlation Coefficient and Multiple Regression Stepwise Method was used, and SPSS program was employed for data processing. Results of this research show that: 1. The most effective communication patterns in public relations projects to promote breastfeeding are Interpersonal Communication, mass media, and special media, respectively. 2. Perception of breastfeeding information correlates with knowledge, attitude, and behavioral changes regarding breastfeeding among mothers with newborn babies. Communication through different types of media is the factor that can forecast dependence such as knowledge, attitude, and behavioral changes regarding breastfeeding of mothers with newborn babies.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.299-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่en_US
dc.subjectการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -- การประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectBreastfeeding promotionen_US
dc.subjectBreastfeeding -- Public relationsen_US
dc.titleรูปแบบการสื่อสารเพื่อประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่en_US
dc.title.alternativeCommunication patterns in public relations projects to promote breastfeedingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.299-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suttida_Na.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.