Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลี อาชวอำรุง-
dc.contributor.advisorอารง สุทธาศาสน์-
dc.contributor.authorอะห์มัด ยี่สุ่นทรง, 2499--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-21T04:08:44Z-
dc.date.available2006-06-21T04:08:44Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741740735-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/415-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาวิเคราะห์ค่านิยมนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิมโดยทั่วไป กระบวนการสังคมประกิตของค่านิยมนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิมในสถาบันอุดมศึกษา พร้อมด้วยนำเสนอแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาค่านิยม สำหรับนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิมตามกระบวนการสังคมประกิตในสถาบันอุดมศึกษา โดยการวิจัยเชิงธรรมชาติ (Naturalistic inquiry) ข้อมูลในการวิจัยได้จากการวิเคราะห์สาระ และการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างในทางลึก จากเอกสารอ้างอิงถึงค่านิยมไทยและมุสลิม จำนวน 83 รายการ สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ นิสิตนักศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 72 คน ศึกษาและจัดทำแผนกลยุทธ์โดยผู้บริหารฝ่ายกิจการศึกษา บุคลากรนิสิตนักศึกษาและนิสิตนักศึกษา และตรวจสอบแผนกลยุทธ์โดยการประเมินอิงผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์เอกสารพบว่า ค่านิยมไทยมุสลิมโดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทคือ งานอาชีพ การเงิน ร่างกาย ครอบครัว อารมณ์ และจิตวิญญาณ การเปลี่ยนแปลงระดับค่านิยม ของนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิมในสถาบันอุดมศึกษา เป็น 5 ประเด็น คือ (1) การเปลี่ยนแปลงของระดับค่านิยมในแต่ละด้าน (2) สถานที่ตั้งของสถาบัน (3) เพศ (4) ชั้นปี และ (5) กลุ่มสาขาวิชา กระบวนการวิเคราะห์สังคมประกิตของค่านิยมนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิม ในสถาบันอุดมศึกษาเป็น 3 ประเด็นคือ กระบวนการสังเกต การสังคมประกิตและตัวแบบนามธรรม นอกจากนั้น พบว่า กระบวนการที่ก่อให้เกิดสังคมประกิต ได้แก่ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กระบวนการวิเคราะห์ภายในตนเอง และการบูรณาการวิชาการและสังคม ผลการวิจัยขั้นสุดท้ายได้แผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาค่านิยม สำหรับนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิมตามกระบวนการสังคมประกิต ประกอบด้วย (1) การบริการ (2) โปรแกรม (3) การกระตุ้น และ (4) การวิจัย โดยมี Balanced Scorecard 4 ด้าน คือ การเงิน นิสิตนักศึกษา กระบวนการภายในและการเรียนรู้ และความงอกงาม ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยคือ นำผลการวิจัยเป็นหลักในการจัดการแผนกลยุทธ์ โดยคำนึงวิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบายและวัฒนธรรมของแต่ละสถาบัน ควรจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ ในการพัฒนาค่านิยมนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิมในสถาบัน และจัดตั้งหน่วยยุทธศาสตร์ กำหนดปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง วางแผนสร้างความเข้าใจตรงกันของบุคลากรในสถาบัน กำหนดแนวทางในการดำเนินงานผ่านกลไกต่างๆ 4 วิธีคือ การปฐมนิเทศ การป้องปราม การแก้ไข และการพัฒนาen
dc.description.abstractalternativeTo ascertain the follow entities (1) the desirable social values of Thai Muslim contexts as practiced in Thailand (2) the socialization process in the development of the Thai Muslim values (3) a proposed strategic plan for student development on basis of the desirable values. The study is a naturalistic inquiry involving 72 selected of Chulalongkorn University and Prince of Songkla University, so as to lay bare differences between urban and rural values. Results of research: Expected conclusions to be empirically drawn are firmly adhered to Thai Muslim values in six categories (1) career (2) financial (3) physical (4) family (5) emotional (6) spiritual. The levels of value change in Thai Muslim students were identifies in terms of (1) levels of value change in Thai Muslim students (2) University location (3) sex (4) class level and (5) fields study. Three type of the socialization process were exposed to Thai Muslim students, namely, observation process, socializing and abstract modeling. Moreover, processes identified to illicit socialization are interpersonal interactions and intrapersonal process and social and academic integration. Ultimate outcomes resulted in a constructed strategic plan for student development, employing the theoretical framework of SPAR, covering the dimensions of services, program, advocacy and research. Recommendations suggested are as follows. Results of the study ascertained the mainstay of strategic management, incorperating visions, missions, policies and organizational culture of each institution concerned. A task-force is recommended to be founded in implementing student values for Thai Muslim students. A strategic unit was to be organized to determine relevant environment factors and plan for mutual understanding of guidelines via four mechanisms, namely, orientations, preventive measures, correction and development.en
dc.format.extent11792041 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.267-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectค่านิยมen
dc.subjectสังคมประกิตen
dc.subjectนักศึกษามุสลิม--ไทยen
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์en
dc.titleการนำเสนอแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาค่านิยมสำหรับนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิม ในสถาบันอุดมศึกษาจำกัดรับสมบูรณ์แบบen
dc.title.alternativeA proposed strategic plan for the value development of Thai Muslim students in closed admission comprehensive universitiesen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาเอกen
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPornchulee.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.267-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ahmad.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.