Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42221
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัษฎาพร ทรัพย์สมบูรณ์ | - |
dc.contributor.author | ชมพูนุช เผ่าประพัธน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | - |
dc.date.accessioned | 2014-04-24T09:24:56Z | - |
dc.date.available | 2014-04-24T09:24:56Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42221 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | การประมาณการซอฟต์แวร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จำเป็นในการวางแผนโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อใช้บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล เครื่องมือ ค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิธีการประมาณการซอฟต์แวร์ที่เลือกมีผลต่อความแม่นยำต่อการประมาณการซอฟต์แวร์ ผู้บริหารโครงการซอฟต์แวร์ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับประเภทของโครงการซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุเป็นกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์หนึ่งที่เป็นที่นิยม โดยมีวิธีการประมาณการซอฟต์แวร์เชิงวัตถุที่ถูกนำเสนอขึ้น คือ ฟังก์ชันพอยต์ ฟังก์ชันพอยต์เชิงวัตถุ ฟังก์ชันพอยต์เชิงวัตถุสอง และคลาสพอยต์ แต่ยังไม่พบงานวิจัยเพื่อทดสอบเปรียบเทียบความแม่นยำจากวิธีการประมาณการทั้งสี่วิธีการ การศึกษานี้จึงเปรียบเทียบความแม่นยำทั้งสี่วิธีการ การศึกษานี้เป็นการทดสอบข้อมูลที่ได้จากธุรกิจพัฒนาซอฟต์แวร์จริง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า การประมาณขนาดซอฟต์แวร์ด้วยฟังก์ชันพอยต์และคลาสพอยต์ให้ผลความแม่นยำมากที่สุด โดยให้ผลความแม่นยำที่ใกล้เคียงกันอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนวิธีประมาณขนาดด้วยฟังก์ชันพอยต์เชิงวัตถุและฟังก์ชันพอยต์เชิงวัตถุสองไม่มีความแม่นยำอย่างมีนัยสำคัญ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Software estimation is one of the most important activities in software project management to manage resources, cost and time for software projects. Software estimation method had affected the accuracy of software size prediction. Project manager should choose appropriate method for characteristic software project. Object-oriented software became a popular development practice. Several techniques aimed at measuring object-oriented software have been proposed indicate Function point, Object-oriented function point, Object-oriented function point 2, and Class point. There are limit researches on comparison of accuracy of these methods. Therefore, this study focused on comparison of accuracy of Function point, Object-oriented function point and Class point. This research is an experimental research on software industry projects. The analysis indicated that the most accurate software estimation method is Class point and Function point. But Object-oriented Function point and Object-oriented Function point 2 were not accurate statistically. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.731 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.subject | การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ | en_US |
dc.subject | การโปรแกรมเชิงวัตถุ | en_US |
dc.subject | Computer software | en_US |
dc.subject | Function point analysis | en_US |
dc.subject | Object-oriented programming (Computer science) | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบความแม่นยำของวิธีการประมาณขนาดซอฟต์แวร์เชิงวัตถุด้วยวิธีฟังก์ชันพอยต์ ฟังก์ชันพอยต์เชิงวัตถุ และคลาสพอยต์ | en_US |
dc.title.alternative | A comparison on accuracy of function point, object-oriented function point and class point software size estimation models | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Assadaporn.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.731 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chompoonuch_ph.pdf | 4.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.