Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42370
Title: ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการสืบสอบแบบชื่นชมจากกรณีตัวอย่างที่มีต่อการคิดขั้นสูงสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 : การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมออนไลน์
Other Titles: Effects of learning management using appreciative inquiry with cases on on-line social network to enhance higher order thinking skills for ninth grade students
Authors: ญาณี นาแถมพลอย
Advisors: ใจทิพย์ ณ สงขลา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Advisor's Email: Jaitip.N@Chula.ac.th
Subjects: สื่อสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
การเรียนรู้
การรู้คิดในเด็ก
วัยรุ่น -- การดำเนินชีวิต
อินเทอร์เน็ตกับเด็ก
Social media
Online social networks
Learning
Cognition in children
Adolescence -- Conduct of life
Internet and children
Issue Date: 2555
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการสืบสอบแบบชื่นชมจากกรณีตัวอย่างที่มีต่อทักษะการคิดขั้นสูงด้านการดำเนินชีวิตและเพื่อวิเคราะห์เครือข่ายสังคมออนไลน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการสืบสอบแบบชื่นชมจากกรณีตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 กลุ่มทดลองเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 53 คน ระยะเวลาที่ใช้ดำเนินการทดลอง 6 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐานและวิเคราะห์พฤติกรรมบนเครือข่ายสังคม ด้วยโปรแกรม UCINET การสัมภาษณ์และการสังเกต ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้เรียนที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ด้วยการสืบสอบอย่างชื่นชมจากกรณีตัวอย่าง มีทักษะการคิดขั้นสูงด้านการดำเนินชีวิตก่อนเรียนและหลังเรียน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. วิเคราะห์เครือข่ายสังคมออนไลน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการสืบสอบแบบชื่นชมจากกรณีตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ลักษณะเครือข่ายแบบสมบูรณ์ (complete network) และเมื่อขยายเครือข่ายมีลักษณะเป็นเครือข่ายแบบศูนย์กลางเฉพาะบุคคล (personal network) มีรูปแบบเครือข่ายเป็นรูปดาว (star network)
Other Abstract: The purpose of this research was to investigate the implementation of appreciative inquiry in a social media environment on the higher-order thinking skills of ninth grade students. The research sample consisted of 53 students who were selected by purposive sampling over a period of 6 weeks. Data were collected and analyzed by way of percentages, while behavior on social networks was analyzed through the use of the program UCINET, as well as through interviews and observations. In regards to the 4 processes of appreciative inquiry: 1) Discover, 2) Dream, 3) Design, and 4) Destiny, the research findings were as follows: 1. The students who learned through appreciative inquiry in a social networking environment had no statistically significant improvement in their higher-order thinking skills at the .05 level of significance. 2. The social network in this case study was divided into their complete and personal networks. Amongst these networks, students were related to one another in a star-network pattern, but there was found to be little interaction between the students.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42370
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.992
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.992
Type: Thesis
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yanee_na.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.