Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนาวรรณ จันทรัตนไพบูลย์-
dc.contributor.authorอัจกิต อุฒาธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T08:54:53Z-
dc.date.available2015-06-23T08:54:53Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42459-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษาหาปัจจัยที่ทำให้เกิดภัยคุกคามความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ และสร้างโมเดลเพื่อใช้ทำนายความเสี่ยงของภัยคุกคาม โดยใช้วิธีการออกแบบสอบถาม ซึ่งจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1) แบบสอบถามสำรวจหาปัจจัยโดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรในองค์กรที่เกี่ยวข้อง ในด้านระบบสารสนเทศจำนวน 117 คน 2) แบบสอบถามเชิงลึก โดยใช้ข้อมูลจากแบบสอบถามส่วนแรกมาเป็นข้อมูลในการออกแบบสอบถามเพื่อใช้ใน การวิเคราะห์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นหัวหน้าหรือตัวแทนแผนกที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ จำนวน 298 ชุด เพื่อนำไปวิเคราะห์สร้างโมเดล โดยใช้ Multinomial Regression และใช้ s-2Log likelihood และ Wald Statistics ในการหาค่าความเชื่อมั่นของโมเดลและสัมประสิทธิ์ตามลำดับและพัฒนาเป็น โปรแกรมเพื่อช่วยทำนาย ผลวิจัยพบว่าจากการศึกษาและสำรวจปัจจัยได้ปัจจัยทั้งหมด 24 ปัจจัยและ จากการวิเคราะห์ได้โมเดลที่สามารถทำนายการเกิดภัยคุกคาม 7 ประเภทด้วยกัน ซึ่งได้แก่ 1) ความผิดพลาดที่มาจากมนุษย์ 2) การบุกรุก 3) การกรรโชกข้อมูล 4) การทำลายระบบหรือข้อมูล 5) การโจรกรรม 6) การโจมตีจากซอฟต์แวร์และ 7) ข้อผิดพลาดทางเทคนิคของฮาร์ดแวร์ โดยมีนัยสำคัญเป็น 0.05 ผลการทดสอบพบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้นร้อยละ 50.00, 79.17, 66.67, 43.75, 83.33, 91.67และ 93.75 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are to find factors causing information security threat and to build a model to predict risks of the threats by using questionnaires which consist of 2 parts: 1) the questionnaire which has 117 officers from information system organizations as samples searches for factors of the threats 2) In-depth questionnaire which has 298 samples of leaders or representations from information system departments uses information from the first questionnaire to be designed to analysis and build a model. Multinomial Regression, s-2Log likelihood and Wald Statistics are used to find out the model’s reliability and the variables’ coefficients and develop the model into a predicting program. This study shows that there are 24 factors of the threats and the model can predict 7 factors which are 1) Human mistakes 2) Intrusion 3) Threats for information.4) System or information destruction 5) Stealing 6) Attacking software 7) Hardware technical errors. With reliability as 0.05, the results from relation experiment between the model and the mentioned factors are 50.00%, 79.17%, 66.67%, 43.75%, 83.33%, 91.67% and 93.75%, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1040-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectความเสี่ยงen_US
dc.subjectComputer securityen_US
dc.subjectRisken_US
dc.titleการวิเคราะห์หาปัจจัยและสร้างโมเดลทำนายความเสี่ยงของการเกิดภัยคุกคามความปลอดภัยของระบบสารสนเทศในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe factor analysis and modeling for risk prediction of information security threats in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThanawan.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1040-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ajagit_ut.pdf3.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.