Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยรรยง เต็งอำนวย-
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ สะอาดเอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-24T04:18:12Z-
dc.date.available2015-06-24T04:18:12Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42531-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractสมาชิกระบบบริการข้อมูลสมาชิกศิษย์เก่าส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักว่าข้อมูลส่วนบุคคลของตัวเองควรได้รับการปกป้อง อีกทั้งปัญหาด้านการปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลยังถูกยกระดับให้มีความรุนแรงมากขึ้นเพราะขาดผู้เชี่ยวชาญทางด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว และเนื่องด้วยข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงการรักษาความเป็นส่วนตัวของระบบบริการข้อมูลสมาชิกศิษย์เก่าให้ดีขึ้น งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาแนวทางในการรักษาความเป็นส่วนตัว โดยนำเสนอแนวทางและขั้นตอนวิธีในการที่จะทำให้ระบบบริการข้อมูลสมาชิกศิษย์เก่าสามารถรักษาความเป็นส่วนตัวได้ดีมากขึ้น เรียกวิธีการนี้ว่า เซเว่นซี (7C) โดยมีพื้นฐานบนการทำงานทั่วไปของระบบข้อมูลสมาชิกศิษย์เก่า แบบรูปความเป็นส่วนตัว ข้อบังคับในการรักษาความเป็นส่วนตัว และเทคโนโลยีที่จะนำมาช่วยในการรักษาความเป็นส่วนตัว เพื่อช่วยให้ผู้ออกแบบระบบ ผู้พัฒนาระบบ ผู้ตรวจสอบระบบ และตัวผู้ใช้งานระบบเอง สามารถเข้าใจและจัดการเรื่องความเป็นส่วนตัวได้ งานวิจัยนี้ได้เลือกซอฟต์แวร์อีแอลจีจี (Elgg) ที่ได้รับความนิยมสูงสำหรับการพัฒนาระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นกรณีศึกษา พร้อมทั้งได้ทำการประเมินระบบอีแอลจีจี ด้วยเอกสาร Privacy Detail Specification ซึ่งเป็นเอกสารที่ได้จากขั้นตอนต่างๆ ทั้งเจ็ดตามขั้นตอนวิธีการเซเว่นซี และยังได้นำเสนอรายการของปลั๊กอินที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความเป็นส่วนตัวสำหรับระบบอีแอลจีจีด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeMost alumni do not realize their personal information should be protected. The problem is exacerbated by the lack in expertise on privacy issues and budget constraints in designing and enhancing privacy for alumni system. This research aims to provide an assessment guideline, called 7C, based on generic features, privacy patterns, privacy legal constraints, and privacy enhancing technologies (PETs), that will be helpful for software designer, developer, auditor, and end-user to deal with various aspects of privacy protections in their system. We selected Elgg, a popular open source social network software as the test system. We assessed Elgg using privacy detail specification derived from our 7C methodology and recommended a list of plug-ins to augment its privacy protection.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.372-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสิทธิส่วนบุคคลen_US
dc.subjectการป้องกันข้อมูลen_US
dc.subjectPrivacy, Right ofen_US
dc.subjectData protectionen_US
dc.titleแนวทางเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวสำหรับระบบบริการข้อมูลสมาชิกศิษย์เก่าโดยอาศัยแบบรูปความเป็นส่วนตัวen_US
dc.title.alternativePrivacy Guideline for Alumni Membership Service based on Privacy Patternen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYunyong.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.372-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kittisak_sa.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.