Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42629
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิชen_US
dc.contributor.authorวรวรรณ ลีชวโลทัยen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:06Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:06Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42629
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโมเดลเชิงสาเหตุของความเต็มใจที่จะบริจาคอวัยวะ มุ่งเน้นศึกษาตัวแปรค่านิยม ความรู้เกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะต่อความเต็มใจที่จะบริจาคอวัยวะ โดยมีการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่น เจตคติต่อการบริจาคอวัยวะ และความเกี่ยวพัน เป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีจาก 5 มหาวิทยาลัย ทั้งเพศชายและเพศหญิง จำนวนทั้งสิ้น 510 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยตัวแปรค่านิยม ตัวแปรความรู้เกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะ ตัวแปรการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่น ตัวแปรเจตคติต่อการบริจาคอวัยวะ ตัวแปรความเกี่ยวพัน และตัวแปรความเต็มใจที่จะบริจาคอวัยวะ รวมทั้งสิ้น 6 ตัวแปร ประกอบด้วย 11 ตัวแปรสังเกตได้ ข้อมูลรวบรวมโดยใช้เครื่องมือวิจัยซึ่งเป็นแบบวัดประมาณค่ารวม 6 ตอน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัยที่สําคัญสรุปได้ดังนี้โมเดลลิสเรลของโมเดลเชิงสาเหตุของความเต็มในที่จะบริจาคอวัยวะโดยภาพรวมมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (ไค-สแควร์ = 41.16 ที่องศาอิสระ = 30, ความน่าจะเป็น = .084, RMSEA = 0.027, RMR = 0.014, GFI = 0.985, AGFI = 0.968) อย่างไรก็ตามพบว่าตัวแปรค่านิยม ตัวแปรความรู้เกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะและตัวแปรความเกี่ยวพันมีอิทธิพลต่อเจตคติต่อการบริจาคอวัยวะ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study a causal model of organ donation willingness, focusing on values knowledge on organ donation willingness via empathy, attitude towards organ donation and involvement. The sample consisted of 510 undergraduate students of five universities. The variables consisted of six latent variables: value, knowledge, empathy, attitude towards organ donation, involvement and organ donation willingness, all of which were totally measured by 11 observed variables. Data were collected by 6 sets of likerts scale questionnaires. The data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation, confirmatory factor analysis and LISREL model analysis. The major findings are as follows: the LISREL model of organ donation willingness, as a whole fit to the empirical data. (Chi-square = 41.16, degrees of freedom = 30, p-value = .084, RMSEA = 0.027, RMR = 0.014, GFI = 0.985, AGFI = 0.968). However, we found that the value (DE=0.39, p<.05) had positive direct effect on attitude toward organ donation significant.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.113-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความพอใจ
dc.subjectการบริจาคอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯ
dc.subjectความรู้สึก
dc.subjectจิตวิทยาประยุกต์
dc.subjectSatisfaction
dc.subjectDonation of organs, tissues, etc.
dc.subjectEmotions
dc.subjectPsychology, Applied
dc.titleโมเดลเชิงสาเหตุของความเต็มใจที่จะบริจาคอวัยวะen_US
dc.title.alternativeA CAUSAL MODEL OF ORGAN DONATION WILLINGNESSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาประยุกต์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorapitchaya.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.113-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5378334238.pdf4.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.