Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ พุ่มรินทร์en_US
dc.contributor.authorชัยรัชต์ ไกรจันทร์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:23:20Z
dc.date.available2015-06-24T06:23:20Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43009
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้ นำเสนอขั้นตอนวิธีการตรวจจับการเคลื่อนที่ของใบหน้า และดวงตาเพื่อสั่งการทำงานคอมพิวเตอร์ ภาพรวมของระบบ ประกอบไปด้วย การประยุกต์ทฤษฏีการตรวจจับใบหน้า และดวงตาด้วยวิธีแบบฮาร์ การประยุกต์ทฤษฏีการขยายภาพความละเอียดสูงยวดยิ่ง โดยเปรียบเทียบค่าบ่งชี้คุณภาพของภาพที่มีความซับซ้อนของลวดลายต่างๆ ต่อจำนวนการทำซ้ำ ที่ผ่านกระบวนการวิธีขยายภาพความละเอียดสูงยวดยิ่ง เพื่อขยายภาพดวงตาจากความละเอียดต่ำไปความละเอียดสูง การประยุกต์ทฤษฏีการหาค่าความโค้ง เพื่อหาจุดศูนย์กลางของดวงตา และฉายเวกเตอร์นี้ไปยังจอคอมพิวเตอร์ การประยุกต์การตรวจจับการกระพริบตาเพื่อควบคุมเมาส์คอมพิวเตอร์ ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของกระบวนการวิธีการตรวจจับการเคลื่อนที่ของใบหน้า และดวงตาเพื่อสั่งการทำงานคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย การทดสอบในเวลากลางวัน (แสงมาจากสองแหล่ง) และในเวลากลางคืน (แสงมาจากแหล่งเดียว) จากผลการทดลองการบันทึกวีดิทัศน์การใช้งานและตรวจจับจำนวนเฟรมที่ถูกต้องต่อจำนวนเฟรมที่ถูกจับทั้งหมด กรณีผู้ใช้งานที่ระยะห่างกับคอมพิวเตอร์ที่ 60 เซนติเมตร ลักษณะใบหน้าตั้งตรง และศีรษะมีความสูงจากกล้องไม่เกิน 5 เซนติเมตร กระบวนการวิธีให้ประสิทธิภาพสูงสุดในการตรวจจับจุดศูนย์กลางของดวงตา เท่ากับ 90 เปอร์เซ็นต์ แต่ในกรณีที่ผู้ใช้งานมีการเอียงใบหน้าในลักษณะมุมเอียง และมุมก้ม-เงย ตั้งแต่ -15 องศา ไปจนถึง 15 องศา กระบวนการวิธีนี้ให้ประสิทธิภาพสูงสุดที่ 80 เปอร์เซ็นต์ จากการทดสอบการใช้งานของระบบ และสอบถามความเห็นของผู้ใช้งานทั่วไป และผู้พิการทางแขน ให้ความคิดเห็นว่า มีความต้องการโปรแกรมประยุกต์ที่สร้างขึ้น เพียงแต่ต้องการเพิ่มฟังก์ชันการใช้งานเพื่อให้มีความสะดวกเพิ่มขึ้นในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes face and eye tracking algorithm for controlling computer functions. The overall system consists of face and eye detection via Haar-like feature, super-resolution reconstruction of low resolution eye-image selected by comparison of peak signal-to-noise ratio and the number of iterations of various texture images, eye-centered extraction via curvature method, mapping center of eye-pair coordinate to computer screen, and eye-blink detection for controlling computer mouse. The system was tested both in day time (two light sources) and at night time (one light source). The system performance was evaluated by measuring sensitivity—a ratio of correct eye-detected video frames and the total number of video captured frames. From the experimental results, the none head pose user at 60 centimetres away from the computer screen and head height at 5 centimetres above the camera achieved 90 percent sensitivity. However, the maximum system performance of head pose between -15 to 15 degree of roll and pitch angle accomplished 80 percent sensitivity. The normal users and the upper limp disabilities gave positive feedback on our system but requested extra add-on functions for more user friendly system in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.475-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ
dc.subjectคอมพิวเตอร์อัลกอริทึม
dc.subjectComputer-aided design
dc.subjectComputer algorithms
dc.titleขั้นตอนวิธีการตรวจจับการเคลื่อนที่ของใบหน้า และดวงตาเพื่อสั่งการทำงานคอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeFACE AND EYE TRACKING ALGORITHM FOR CONTROLLING COMPUTER FUNCTIONSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsuree.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.475-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570161721.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.