Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43011
Title: | THE ETHANOL DEHYDRATION OVER AL-SI COMPOSITE CATALYSTS |
Other Titles: | ปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอทานอลบนตัวเร่งปฏิกิริยาวัสดุเชิงประกอบอะลูมินาซิลิกา |
Authors: | Titinan Chanchuey |
Advisors: | Bunjerd Jongsomjit |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | bunjerd.j@chula.ac.th |
Subjects: | Ethanol Molybdenum alloys เอทานอล โลหะผสมโมลิบดีนัม |
Issue Date: | 2013 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This research investigated the characteristics and catalytic activity of Al2O3-SiO2 composite catalyst and molybdenum supported Al2O3-SiO2. The Al2O3-SiO2 composite catalyst which was various amount of alumina ranged from 20wt% to 80wt%. After that the best ratio of Al2O3-SiO2 composite catalyst which exhibited the highest catalytic activity was impregnated by amount of molybdenum ranged from 1wt% to 16wt%. The catalytic activity of all catalysts was represented through ethanol conversion and selectivity of products in ethanol dehydration reaction. The characteristics of all catalysts were characterized by BET surface area, XRD, SEM, EDX, NH3-TPD and TEM methods. The increasing of alumina affected the morphology and acidity. The morphology was changed from spherical particle to cluster. In part of acidity, the weak acid site was minimum, but the medium-strong acid site had maximum at 60wt% of alumina on silica (60Al-SSP). Moreover, the 60Al-SSP composite catalyst gave the highest both ethanol conversion and ethylene selectivity. Impregnation of 60Al-SSP with higher amount of molybdenum had influence with distribution of molybdenum and acidity. For the acidity, the weak acid site was increased, whereas the medium-strong acid site was decreased after adding more molybdenum. Considering the catalytic activity, it was found that the order of ethylene selectivity agreed with result of medium-strong acid site. The ethanol conversion of 1wt% of molybdenum on 60Al-SSP was the highest while the amount of molybdenum more than 5wt% on 60Al-SSP exhibited lower activity of 60Al-SSP composite catalyst. |
Other Abstract: | ในงานวิจัยนี้ศึกษาคุณลักษณะและความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาวัสดุเชิงประกอบอะลูมินาซิลิกา และตัวเร่งปฏิกิริยาโมลิบดินัมบนอะลูมินาซิลิกา ตัวเร่งปฏิกิริยาวัสดุเชิงประกอบอะลูมินาซิลิกามีการเปลี่ยนแปลงจำนวนของอะลูมินาในช่วงระหว่างร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 80 โดยน้ำหนัก หลังจากนั้นอัตราส่วนที่ดีที่สุดของตัวเร่งปฏิกิริยาวัสดุเชิงประกอบอะลูมินาซิลิกาคือ การให้ความว่องไวของการเกิดปฏิกิริยาดีที่สุด ถูกทำให้เต็มไปด้วยจำนวนของโมลิบดินัมในช่วงระหว่างร้อยละ 1 ถึง ร้อยละ16 โดยน้ำหนัก ความว่องไวของทุกตัวเร่งปฏิกิริยาจะถูกแสดงผ่านการเปลี่ยนแปลงของเอทานอล และการเลือกเกิดของผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอทานอล คุณลักษณะของทุกตัวเร่งปฏิกิริยาถูกอธิบายลักษณะโดยใช้การดูดซับทางกายภาพด้วยไนโตรเจน การกระเจิงรังสีเอกซ์ การส่องผ่านด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การกระจายตัวของโลหะ การดีซอฟชันของแอมโนเนียแบบโปรแกรมอุณหภูมิ และการส่องกราดด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การเพิ่มขึ้นของอะลูมินาส่งผลต่อลักษณะทางสัณฐานวิทยา และความเป็นกรด ลักษณะทางสัณฐานวิทยาถูกเปลี่ยนแปลงจากอนุภาคทรงกลมกลายเป็นกลุ่มของอนุภาค ในส่วนของความเป็นกรด กรดอ่อนจะมีจำนวนน้อยที่สุด แต่กรดปายกลางถึงกรดแก่มีจำนวนมากที่สุดที่ร้อยละ 60 โดยน้ำหนักของอะลูมินาบนซิลิกา หรือ 60Al-SSP นอกจากนี้ตัวเร่งปฏิกิริยาวัสดุเชิงประกอบ 60Al-SSP ให้ค่าสูงที่สุดทั้งในค่าของการเปลี่ยนแปลงเอทานอลและการเลือกเกิดเป็นเอทิลีน ในการทำให้ 60Al-SSP ให้เต็มไปด้วยจำนวนของโมลิบดินัมที่มากขึ้นมีอิทธิพลกับการกระจายตัวของโมลิบดินัมและความเป็นกรด สำหรับความเป็นกรดนั้น กรดอ่อนถูกทำให้เพิ่มมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม กรดปานกลางถึงกรดแก่ถูกทำให้ลดลงหลังจากเติมโมลิบดินัมด้วยจำนวนที่มากขึ้น เมื่อพิจารณาที่ความว่องไว พบว่าลำดับของการเลือกเกิดเอทิลีนสอดคล้องกับผลของกรดปานกลางถึงกรดแก่ การเปลี่ยนแปลงเอทานอลของร้อยละ 1 โดยน้ำหนักของโมลิบดินัมบน 60Al-SSP ให้ค่าสูงที่สุด ขณะที่จำนวนของโมลิบดินัมมากกว่าร้อยละ 5 โดยน้ำหนักบน 60Al-SSP แสดงค่าความว่องไวต่ำกว่าของตัวเร่งปฏิกิริยาวัสดุเชิงประกอบ 60Al-SSP |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2013 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43011 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.476 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2013.476 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5570175521.pdf | 3.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.