Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43223
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศ | en_US |
dc.contributor.author | ชลิตา พนาวิวัฒน์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:25:09Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:25:09Z | |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43223 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยฉบับนี้ปัญหาหลักของแผนกผู้ป่วยนอกนี้ คือ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ประสบกับการรอรับบริการที่นานเมื่อเทียบกับเวลาที่ผู้ป่วยได้พบแพทย์ ซึ่งการขาดประสิทธิภาพของระบบนัดนั้นเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหานี้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการนัดหมายผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ให้สอดคล้องกับการให้บริการของแพทย์และพยาบาล เพื่อทำให้เวลารอรับบริการของผู้ป่วยลดลง แบบจำลองสถานการณ์แผนกผู้ป่วยนอกถูกพัฒนาขึ้นเพื่อพิจารณาระบบนัดหมายผู้ป่วย โดยการจัดระบบนัดที่ทำพัฒนาขึ้นนั้นจะพิจารณาทั้งรูปแบบระบบนัด การจัดลำดับการนัด และปัจจัยสภาพแวดล้อม ได้แก่ ความไม่ตรงต่อเวลาของผู้ป่วย การขาดนัด และระบบการจัดลำดับในการให้บริการผู้ป่วย ระบบนัดทุกระบบจะทดสอบด้วยแบบจำลองสถานการณ์ โดยการทดสอบประสิทธิภาพของระบบนัดหมายผู้ป่วยนั้นจะวัดผลจากเวลารอรับบริการเฉลี่ยของผู้ป่วย ระบบนัดทุกแบบที่นำเสนอสามารถลดเวลารอรับบริการเฉลี่ยของผู้ป่วยลงได้โดยไม่เพิ่มจำนวนบุคลากรในการทำงาน จากการจำลองสถานการณ์พบว่า ระบบการนัดหมายที่นัดผู้ป่วยไม่เท่ากันในแต่ละช่วงและมีระยะห่างคงที่ แบบเพิ่มจำนวนผู้ป่วยนัดในช่วงท้ายของการเปิดให้บริการและระยะห่างในการนัดคงที่ทุก 30 นาที เป็นระบบที่สามารถเวลารอรับบริการเฉลี่ยของผู้ป่วยได้มากที่สุด ซึ่งลดลงร้อยละ 54 เทียบกับสถานการณ์การให้บริการในปัจจุบัน โดยระบบนัดหมายผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพที่สุดนั้นจะถูกเสนอเพื่อในไปใช้ในการปรับปรุงแผนกผู้ป่วยนอก | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this research, the main problem of the outpatient department was that most patients face with long waiting times followed by short consultation. Lack of an effective appointment was considered as the cause. The objective of this research was to develop an appointment system for the outpatient department to match with doctors’ and nurses’ services available in order to reduce patients' waiting time. A discrete event simulation of the outpatient department was developed to evaluate an appointment system. The developed system considered appointment rules, sequencing rules and environmental factors such as lateness, no-shows and priority rule. Various appointment systems were examined by the simulation model. The performance measure to evaluate appointment system was an average waiting time. All proposed alternatives effectively reduced outpatient waiting time without adding extra resources. The simulation model showed that variable-block/fixed-interval which the appointment rule increased the appointment block sizes in the last session and 30-minute interval could be significantly reduced average waiting time fifty-four percent as compared to the current status. This effective appointment system was finally recommended to the outpatient department for implementation. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.797 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การออกแบบระบบ | |
dc.subject | โรงพยาบาล -- การบริหาร | |
dc.subject | โรงพยาบาล -- แผนกผู้ป่วยนอก | |
dc.subject | System design | |
dc.subject | Hospitals -- Administration | |
dc.subject | Hospitals -- Outpatient service | |
dc.title | การออกแบบระบบนัดสำหรับแผนกผู้ป่วยนอก | en_US |
dc.title.alternative | DESIGNING AN APPOINTMENT SYSTEM FOR OUTPATIENT DEPARTMENT | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | wipawee.tha@gmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.797 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670158021.pdf | 7.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.